Page 50 - Management_agricultural_drought_2561
P. 50

43












































               ภาพที่ 3.5  รูปแบบของฝนและอุณหภูมิที่ผิดปกติในปลานีญา
               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546)


               3.3  งานวิจัยที่เกี่ยวของ
                     3.3.1  งานวิจัยเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอความแหงแลง
                           ฐิตวดี  (2546)  ไดศึกษาปจจัยคุณลักษณะของพื้นที่ที่มีอิทธิพลตอการเกิดพื้นที่แหงแลง  ในเขต
               จังหวัดเพชรบุรี  โดยใช  การวิเคราะหสมการถดถอยพหุแบบขั้นตอน  (Stepwise Multiple Regression

               Analysis) ที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 95 (P<0.05) และทําการศึกษาประเมินศักยภาพของพื้นที่ในการเกิด
               พื้นที่แหงแลง  และพื้นที่ที่เสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลงโดยการประยุกตใชระบบสาระสนเทศภูมิศาสตร  ผล
               การศึกษาความสัมพันธของปจจัยคุณลักษณะของพื้นที่ กับการเกิดพื้นที่แหงแลง พบวาปจจัยที่มี อิทธิพลตอ

               การเกิดพื้นที่แหงแลง มี 2 ปจจัย คือความลาดชันของพื้นที่และลักษณะการระบายน้ําของดิน โดยมี สมการ
               พยากรณการเกิดพื้นที่แหงแลงดังนี้ Y = 0.946 + 0.0147 (X2) + 0.327 (X6) และ Y = 1.196 + 0.01562
               (X2) + 0.204(X6) สาหรับปจจัย ปริมาณความชื้นในดิน, องศาของทิศดานลาด ของพื้นที่, ปริมาณการใชน้ํา
               ของพืช และปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายเดือน พบวา  ไมมีความสัมพันธกับการเกิดพื้นที่แหงแลงของพื้นที่อยางมี
               นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  รอยละ  95  และจากการศึกษาพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเกิดพื้นที่แหง

               แลง และพื้นที่ที่เสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลง พบวา พื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเกิดพื้นที่แหง
               แลงชื้นปานกลาง  และมีความเสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลงต่ํา  และ พบวาในบริเวณ  ตําบลแกงกระจาน
               อําเภอแกงกระจาน มีศักยภาพในการเกิดพื้นที่แหงแลงมากและมีความเสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลงสูงเพียง

               เล็กนอย
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55