Page 46 - Management_agricultural_drought_2561
P. 46

39



                                (6)    เกิดรวมกับการออนกําลังลงของลมคาที่พัดไปทางทิศตะวันตกบริเวณแปซิฟกเขต
               ศูนยสูตร

                                (7)  เวียนเกิดซ้ําแตชวงเวลาไมสม่ําเสมอ
                                (8)  เกิดแตละครั้งนาน 12 – 18 เดือน
                           2)  การเกิดปรากฏการณเอลนีโญ
                              กรมอุตุนิยมวิทยา (2546) ตามปกติเหนือนานน้ํามหาสมุทรแปซิฟกเขตรอนหรือมหาสมุทร

               แปซิฟกเขตศูนยสูตรจะมีลมคาตะวันออกพัดปกคลุมเปนประจํา ลมนี้จะพัดพาผิวหนาน้ําทะเลที่อุนจากทาง
               ตะวันออก (บริเวณชายฝงประเทศเอกวาดอร เปรู และชิลีตอนเหนือ) ไปสะสมอยูทางตะวันตก (ชายฝง
               อินโดนีเซีย และออสเตรเลีย) ทําใหบรรยากาศเหนือบริเวณแปซิฟกตะวันตกมีความชื้นเนื่องจากขบวนการ
               ระเหย และมีการกอตัวของเมฆและฝนบริเวณตะวันออกและตะวันออกเฉียงใตของเอเชีย รวมทั้งประเทศ

               ตางๆ ที่เปนเกาะอยูในแปซิฟกตะวันตก ขณะที่ทางตะวันออกของแปซิฟกเขตศูนยสูตรมีการไหลขึ้นของน้ําเย็น
               ระดับลางขึ้นไปยังผิวน้ําและทําใหเกิดความแหงแลงบริเวณชายฝงอเมริกาใต แตเมื่อลมคาตะวันออกมีกําลัง
               ออนกวาปกติ ลมที่พัดปกคลุมบริเวณดานตะวันออกของปาปวนิวกินี (ปาปวนิวกินี คือ เกาะที่ตั้งอยูบริเวณเสน
               ศูนยสูตรทางแปซิฟกตะวันตกเหนือทวีปออสเตรเลีย) จะเปลี่ยนทิศทางจากตะวันออกเปนตะวันตก ทําใหเกิด

               คลื่นใตผิวน้ําพัดพาเอามวลน้ําอุนที่สะสมอยูบริเวณแปซิฟกตะวันตกไปแทนที่น้ําเย็นทางแปซิฟกตะวันออก
               เมื่อมวลน้ําอุนไดถูกพัดพาไปถึงแปซิฟกตะวันออก (บริเวณชายฝงประเทศเอกวาดอร) ก็จะรวมเขากับผิวน้ํา
               ทําใหผิวหนาน้ําทะเลบริเวณนี้อุนขึ้นกวาปกติ และน้ําอุนนี้จะคอย ๆ แผขยายพื้นที่ไปทางตะวันตกถึง

               ตอนกลางของมหาสมุทร สงผลใหบริเวณที่มีการกอตัวของเมฆและฝนซึ่งปกติจะอยูทางตะวัน ตกของ
               มหาสมุทรเปลี่ยนแปลงไปอยูที่บริเวณตอนกลางและตะวันออก (ภาพที่  3.2  )  บริเวณดังกลาวจึงมีฝนตก
               มากกวาปกติ ในขณะที่แปซิฟกตะวันตกซึ่งเคยมีฝนมากจะมีฝนนอยและเกิดความแหงแลง















                            สภาวะปกติ                                   สภาวะเอลนีโญ
               ภาพที่ 3.2  สภาวะปกติ และสภาวะเอลนีโญ

               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546)

                           3)  ผลกระทบจากปรากฏการณเอลนีโญ

                              ในชวงที่เกิดปรากฏการณเอลนีโญ การกอตัวของเมฆและฝนเหนือนานน้ําบริเวณเอเชีย
               ตะวันออกเฉียงใตจะลดลง และจะขยับไปทางตะวันออก ทําใหบริเวณตอนกลางและตะวันออกของแปซิฟกเขต
               ศูนยสูตร รวมทั้งประเทศเปรูและเอกวาดอรมีปริมาณฝนมากกวาคาเฉลี่ย ขณะที่มีความแหงแลงเกิดขึ้นที่
               นิวกินี และอินโดนีเซีย อีกทั้งบริเวณเขตรอนของออสเตรเลีย (พื้นที่ทางตอนเหนือ) มักจะเริ่มฤดูฝนลาชา
               นอกจากพื้นที่บริเวณเขตรอนแลวปรากฏการณเอลนีโญยังมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกับความผิดปกติของ

               ภูมิอากาศในพื้นที่ซึ่งอยูหางไกลดวย เชน ความแหงแลงทางตอนใตของแอฟริกา จากการศึกษาปรากฏการณ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51