Page 44 - Management_agricultural_drought_2561
P. 44

37



               มิลลิเมตร. นับเปนภัยธรรมชาติที่รุนแรงที่สุด มีพืชพรรณตางๆ ลมตายเรื่อย ๆ ทําใหไมมีผลผลิต สภาวะแหง
               แลงแบบนี้ยังไมเคยปรากฏในประเทศไทย

                     3.1.4  ฤดูที่เกิดความแหงแลง
                           ความแหงแลงในประเทศไทยจะเกิดใน 2 ชวง คือ ชวงแรกเปนชวงฤดูหนาวถึงฤดูรอน เริ่มจาก
               เดือนตุลาคมจนถึงเดือนพฤษภาคม ซึ่งจะเกิดความแหงแลงเปนประจําทุกป และ ชวงที่สองเกิดชวงกลางฤดูฝน
               เดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนทิ้งชวงเกิดขึ้น และจะเกิดเฉพาะทองถิ่นหรือบางบริเวณ บางครั้งอาจ

               ครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวางทั่วประเทศ ความแหงแลงในประเทศไทยสวนใหญมีผลกระทบตอการเกษตร
               โดยเฉพาะเดือนกรกฎาคม พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลงมาก ไดแกบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
               ตอนกลาง เพราะเปนบริเวณที่อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใตเขาไปไมถึง และถาปใดไมมีพายุหมุนเขตรอน
               เคลื่อนผานในแนวดังกลาวแลว จะกอใหเกิดความแหงแลงรุนแรงมากขึ้น นอกจากนี้แลวยังมีพื้นที่อื่นที่มัก

               ประสบกับปญหาความแหงแลงเปนประจํา
                           ฝนทิ้งชวง หมายถึง ชวงที่มีปริมาณฝนตกไมถึงวันละ 1 มิลลิเมตรติดตอกันเกิน 15 วันในชวงฤดูฝน
               สําหรับเดือนที่มีโอกาสเกิดฝนทิ้งชวงสูงสุดคือ เดือนมิถุนายนและเดือนกรกฎาคม
                           ฝนแลงดานอุตุนิยมวิทยา หมายถึง สภาวะที่มีฝนนอยหรือไมมีฝนเลยในชวงเวลาหนึ่ง ซึ่ง

               ตามปกติควรจะตองมีฝน โดยขึ้นอยูกับสถานที่และฤดูกาล ณ ที่นั้นดวย
                           ความแหงแลงจะเกิดขึ้นเปนลําดับ โดยเริ่มจากความแหงแลงเชิงอุตุนิยมวิทยา ความแหงแลงเชิง
               เกษตรกรรม ความแหงแลงเชิงอุทกวิทยา และความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคมตามลําดับ โดย

               หลังจากเกิดเหตุการณฝนทิ้งชวงขึ้น การเกษตรไดรับผลกระทบเปนอันดับแรกเนื่องจากความชุมชื้นของดินจะ
               ลดลงอยางรวดเร็วและหากยังคงไมมีฝนตก แหลงน้ําอื่น ๆ จะเริ่มลดระดับลง และเมื่อมีฝนตกลงมาอีกครั้ง
               ความแหงแลงทางอุตุนิยมวิทยาจะเริ่มหมดไป ความชุมชื้นในดินจะเพิ่มขึ้นกอนเปนอันดับแรก จากนั้นระดับน้ํา
               เก็บกักผิวดินและใตดินจะเริ่มสูงขึ้น ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรมจะหมดไปอยางรวดเร็ว เพราะขึ้นอยูกับ
               สภาพความชุมชื้นในดินเปนหลัก

                     3.1.5  สาเหตุการเกิดความแหงแลง
                           สาเหตุการเกิดความแหงแลง มีสาตุหลัก 2 สาเหตุ คือ
                           1)  ความแหงแลงเกิดจากธรรมชาติ ไดแก การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก การเปลี่ยนแปลง

               สภาพภูมิอากาศ ทําใหฝนตกนอยผิดปกติหรือไมตกตามฤดูกาล มีการกระจายของฝนไม สม่ําเสมอเมื่อฝนตก
               จะตกมากแลวทิ้งชวง เชน การผิดปกติของรองมรสุม การขาดความสมดุลทางธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงของ
               ระดับน้ําทะเล ภัยธรรมชาติ เชน วาตภัย แผนดินไหว ไฟปา
                           2)    ความแหงแลงเกิดจากการกระทําของมนุษย เชน การทําลายชั้นโอโซน ภาวะเรือนกระจก

               การพัฒนาดานอุตสาหกรรม การตัดไมทําลายปา การสรางเขื่อน อางเก็บน้ํา หรือการตัดถนนเนื่องมาจากการ
               พัฒนารวมทั้งการเพิ่มขึ้นของประชากร
                     3.1.6  ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะภัยแลง (ภาพที่ 3.2)
                           ภัยแลงในประเทศไทยมีผลกระทบโดยตรงกับการเกษตรและแหลงน้ํา เนื่องจากเปนประเทศ

               เกษตรกรรม และภัยแลงที่มีผลตอ ผลผลิตทางการเกษตรมักเกิด ขึ้นในฤดูฝนที่เกิดฝนทิ้งชวงเปนระยะ
               เวลานาน ทําใหเกิดผลกระทบดังนี้
                           1)    ดานเศรษฐกิจ ผลผลิตการเกษตร ปศุสัตว ปาไม ประมง เสียหายและขาดแคลน เกิดภาวะ
               วางงานของคนในภาคเกษตรกรรม ความเสียหายของอุตสาหกรรมทองเที่ยวพลังงาน และดานขนสง

                           2)  ดานสังคม เกิดผลกระทบดานสุขภาพ เกิดความขัดแยงในการใชน้ําและคุณภาพชีวิตลดลง
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49