Page 42 - Management_agricultural_drought_2561
P. 42

35



               เสียหายแกประชาชนทั้งประเทศ  รวมทั้งกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม  และการดํารงชีวิต
               ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด

                           3.1.2  ประเภทของความแหงแลง
                                Wilhite and Glantz, (1985) ไดจําแนกความแหงแลงตามลักษณะการเกิดออกเปน  4
               ประเภทดังตอไปนี้ (ภาพที่ 3.1)
                                1)  ความแหงแลงเชิงอุตุนิยมวิทยา  (  Meteorological  Drought)  เปนความแหงแลงที่

               เกิดขึ้นจากสภาพฝนทิ้งชวง หรือมีฝนตกนอยกวาระดับที่กําหนด ( Threshold) โดยชวงที่เกิดความแหงแลง
               (Period of Drought)  นิยามจากจํานวนวันที่มีฝนตกนอยกวาระดับที่กําหนด ความแหงแลงในทาง
               อุตุนิยมวิทยาเปนจุดเริ่มตนของปญหาความแหงแลงประเภทอื่น ๆ ซึ่งเกิดขึ้นตามกันเปนลําดับ
                                2) ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรม (Agricultural of Drought) เปนความแหงแลงซึ่งเปน

               ผลกระทบตอเนื่องมาจากความแหงแลงเชิงอุตุนิยมวิทยา ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรมจะมุงสนใจในเรื่องของ
               การเกิดฝนทิ้งชวง ซึ่งทําใหดินขาดความชุมชื้น และนอกจากนี้ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรมยังขึ้นอยูกับชนิด
               ของพืชซึ่งมีความทนทานตอสภาพภูมิอากาศไดตางกัน ความตองการน้ําแตกตางกัน รวมทั้งลําดับขั้นตอนการ
               เจริญเติบโตของพืช ซึ่งลวนมีผลตอผลผลิตทางการเกษตรทั้งสิ้น

                                3) ความแหงแลงเชิงอุทกวิทยา (Hydrological Drought) เปนความแหงแลงที่เกิดจาก
               ชวงฤดูกาลที่มีปริมาณฝนตกนอยหรือไมมีฝนตก ทําใหระดับน้ําผิวดินและน้ําใตดินคือ น้ําในแมน้ํา อางเก็บน้ํา
               ทะเลสาบ และน้ําบาดาลลดระดับลง ซึ่งความแหงแลงเชิงอุทกวิทยานี้มักจะพิจารณาในระดับของลุมน้ํา ความ

               แหงแลงเชิงอุทกวิทยาเปนปญหาที่เกิดขึ้นอยางชา ๆ ตางจากความแหงแลวเชิงอุตุนิยมวิทยาและความแหง
               แลงเชิงเกษตรกรรม
                                4)  ความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคม  (Socioeconomic  Drought)  เปนความ
               แหงแลงที่เกี่ยวของกับทรัพยากรที่มีอยู  (Supply)  และความตองการทรัพยากรนั้น (Demand)  แตเนื่องจาก
               ความจํากัดของทรัพยากรและประชากรมีความตองการทรัพยากรมาก จึงทําใหเกิดความขาดแคลนขึ้น ซึ่ง

               ความแหงแลงทางเศรษฐศาสตรและสังคมจะแตกตางออกไปจากความแหงแลงอื่น ๆ เนื่องจากมีเรื่องของ
               ความตองการใชและความจํากัดของทรัพยากรเขามาเกี่ยวของ ซึ่งโดยปกติแลวความตองการทรัพยากรจะ
               เพิ่มขึ้นตามจํานวนประชากร และความตองการบริโภคเพิ่มขึ้น ซึ่งความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคมจะ

               เกิดขึ้นจนกวาการเพิ่มขึ้นของประชากรและความตองการบริโภคจะปรับตัวเขาหากันจนเกิดความสมดุล
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47