Page 47 - Management_agricultural_drought_2561
P. 47

40



               เอลนีโญที่เคยเกิดขึ้นในอดีตนักวิทยาศาสตรพบวาในฤดูหนาวและฤดูรอนของซีกโลกเหนือ (ระหวางเดือน
               ธันวาคม – กุมภาพันธ และ เดือนมิถุนายน – สิงหาคม) รูปแบบของฝนและอุณหภูมิหลายพื้นที่ผิดไปจากปกติ

               เชน ในฤดูหนาวบริเวณตะวันออกเฉียงใตของแอฟริกาและตอนเหนือของประเทศบราซิลแหงแลงผิดปกติ
               ขณะที่ทางตะวันตกของแคนาดา อลาสกา และตอนบนสุดของอเมริกามีอุณหภูมิสูงผิดปกติ สวนบางพื้นที่
               บริเวณกึ่งเขตรอนของอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต (บราซิลตอนใตถึงตอนกลางของอารเจนตินา) มีฝนมาก
               ผิดปกติ (ภาพที่ 3.3 )

                           นอกจากปรากฏการณเอลนีโญจะมีผลกระทบตอรูปแบบของฝนและอุณหภูมิแลวยังมีอิทธิพลตอ
               การเกิดและการเคลื่อนตัวของพายุหมุนเขตรอนอีกดวย โดยปรากฏการณเอลนีโญไมเอื้ออํานวยตอการกอตัว
               และการพัฒนาของพายุหมุนเขตรอนในมหาสมุทรแอตแลนติก ทําใหพายุหมุนเขตรอนในบริเวณดังกลาวนี้
               ลดลง ในขณะที่บริเวณดานตะวันตกของประเทศเม็กซิโกและสหรัฐอเมริกามีพายุพัดผานมากขึ้น สวนพายุหมุน

               เขตรอนในมหาสมุทรแปซิฟกเหนือดานตะวันตกที่มีการกอตัวทางดานตะวันออกของประเทศฟลิปปนสมักมี
               เสนทางเดินของพายุขึ้นไปทางเหนือมากกวาที่จะเคลื่อนตัวมาทางตะวันตกผานประเทศฟลิปปนสลงสูทะเลจีนใต









































               ภาพที่ 3.3 รูปแบบของฝนและอุณหภูมิที่ผิดปกติในปเอลนีโญ
               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546)

                           4)  ผลกระทบของปรากฏการณเอลนีโญตอปริมาณฝนและอุณหภูมิในประเทศไทย
                           กรมอุตุนิยมวิทยา  (2546)  จากการศึกษาสภาวะฝนและอุณหภูมิของประเทศไทยในปเอลนีโญ
               โดยใชวิธีวิเคราะหคา composite percentile  ของปริมาณฝน และ composite standardized  ของ
               อุณหภูมิในปเอลนีโญ จากขอมูลปริมาณฝนและอุณหภูมิรายเดือน ในชวงเวลา 50  ป ตั้งแต พ.ศ. 2494  ถึง

               2543  พบวา ในปเอลนีโญปริมาณฝนของประเทศไทยสวนใหญต่ํากวาปกติ (rainfall Index  นอยกวา 50)
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52