Page 49 - Management_agricultural_drought_2561
P. 49

42


















                            สภาวะปกติ                                   สภาวะลานีญา
               ภาพที่ 3.4  สภาวะปกติ และ สภาวะลานีญา

               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546)
                           3)  ผลกระทบจากปรากฏการณลานีญา
                           จากการที่ปรากฏการณลานีญาเปนสภาวะตรงขามของปรากฏการณเอลนีโญ ดังนั้นผลกระทบ
               ของปรากฏการณลานีญาจึงตรงขามกับปรากฏการณเอลนีโญ กลาวคือ ผลจากการที่อากาศลอยขึ้นและกลั่น

               ตัวเปนเมฆและฝนบริเวณแปซิฟกตะวันตกเขตรอนในชวงปรากฏการณลานีญา ทําใหออสเตรเลีย อินโดนีเซีย
               และฟลิปปนสมีแนวโนมที่จะมีฝนมากและมีน้ําทวม ขณะที่บริเวณแปซิฟกเขตรอนตะวันออกมีฝนนอยและแหง
               แลง นอกจากพื้นที่ในบริเวณเขตรอนจะไดรับผลกระทบแลว ปรากฏวาปรากฏการณลานีญายังมีอิทธิพลไปยัง
               พื้นที่ซึ่งอยูหางไกลออกไปดวย โดยพบวาแอฟริกาใตมีแนวโนมที่จะมีฝนมากกวาปกติและมีความเสี่ยงตอ

               อุทกภัยมากขึ้น ขณะที่บริเวณตะวันออกของแอฟริกาและตอนใตของอเมริกาใตมีฝนนอยและเสี่ยงตอการเกิด
               ความแหงแลง และในสหรัฐอเมริกาชวงที่เกิดปรากฏการณลานีญาจะแหงแลงกวาปกติทางตะวันตกเฉียงใต
               ในชวงปลายฤดูรอนตอเนื่องถึงฤดูหนาว บริเวณที่ราบตอนกลางของประเทศในชวงฤดูใบไมรวง และทาง
               ตะวันออกเฉียงใตในชวงฤดูหนาว แตบางพื้นที่ทางตอนเหนือและตะวันออกมีฝนมากกวาปกติในชวงฤดูหนาว

               สวนผลกระทบของปรากฏการณลานีญาที่มีตอรูปแบบของอุณหภูมิปรากฏวาในชวงปรากฏการณลานีญา
               อุณหภูมิผิวพื้นบริเวณเขตรอนโดยเฉลี่ยจะลดลง และมีแนวโนมต่ํากวาปกติ ในชวงฤดูหนาวของซีกโลกเหนือ
               ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟกบริเวณประเทศญี่ปุนและเกาหลีมีอุณหภูมิต่ํากวาปกติ ขณะที่
               ทางตะวันตกเฉียงใตของมหาสมุทรรวมถึงพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลียมีอุณหภูมิสูงกวาปกติ

               สวนทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกาตอเนื่องถึงตอนใตของแคนาดามีอากาศหนาวเย็นกวาปกติ จากภาพที่3.5
               แสดงใหเห็นผลกระทบจากปรากฏการณลานีญาในชวงฤดูหนาวและฤดูรอนของซีกโลกเหนือ
                           4)  ผลกระทบของปรากฏการณลานีญาตอปริมาณฝนและอุณหภูมิในประเทศไทย
                           กรมอุตุนิยมวิทยา  (2546)  จากการศึกษาสภาวะฝนและอุณหภูมิของประเทศไทยในป

               ปรากฏการณเอลนีโญ โดยใชวิธีวิเคราะหคา composite percentile  ของปริมาณฝน และ composite
               standardized  ของอุณหภูมิในปปรากฏการณเอลนีโญ จากขอมูลปริมาณฝนและอุณหภูมิรายเดือน ในชวง
               เวลา 50 ป ตั้งแต พ.ศ. 2494 ถึง 2543 พบวา ในปที่เกิดปรากฏการณลานีญาปริมาณฝนของประเทศไทยสวน

               ใหญสูงกวาปกติ โดยเฉพาะชวงฤดูรอนและตนฤดูฝนเปนระยะที่ปรากฏการณลานีญามีผลกระทบตอสภาวะฝน
               ของประเทศไทยชัดเจนกวาชวงอื่น และพบวาในชวงกลางและปลายฤดูฝนปรากฏการณลานีญามีผลกระทบตอ
               สภาวะฝนของประเทศไทยไมชัดเจน สําหรับอุณหภูมิปรากฏวาปรากฏการณลานีญามีผลกระทบตออุณหภูมิใน
               ประเทศไทยชัดเจนกวาฝน โดยทุกภาคของประเทศไทยมีอุณหภูมิต่ํากวาปกติทุกฤดู และพบวาปรากฏการณ
               ลานีญาที่มีขนาดปานกลางถึงรุนแรงสงผลใหปริมาณฝนของประเทศไทยสูงกวาปกติมากขึ้น ขณะที่อุณหภูมิต่ํา

               กวาปกติมากขึ้น
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54