Page 54 - Management_agricultural_drought_2561
P. 54

47



                           Chenglin et al. (2004) ติดตามสภาวะการเกิดภัยแลง โดยใชขอมูล normalized difference
               vegetative index (NDVI) หาความสัมพันธคาความชื้นของพืชพรรณ และ normalized difference water

               index  (NDWI)  วัดปริมาณน้ําในดิน  บริเวณพื้นที่เกษตร  ทางภาคเหนือของประเทศจีน  ซึ่งสามารถติดตาม
               สภาวะความแหงแลงดังกลาว ไดอยางถูกตองแมนยําและทันตอสถานการณภัยแลง
                           วีระศักดิ์ และ พูลศิริ (2548)  ไดศึกษาการกําหนดพื้นที่เสี่ยงภัยแลงบริเวณภาคตะวันออกของ
               ประเทศไทย  โดยศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดสภาวะแหงแลง  ใชการวิเคราะหหาความสัมพันธเชิงพื้นที่ระหวาง

               ปจจัยตางๆ รวมกับการใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรในการจัดเตรียมขอมูลพื้นฐาน วิเคราะห และจัดทํา
               แผนที่  ซึ่งการวิเคราะหเพื่อกําหนดพื้นที่เสี่ยงภัยแลงไดกําหนดคาถวงน้ําหนักของแตละปจจัยตามลําดับของ
               อิทธิพลที่มีตอความแหงแลง คือ ดัชนีฝนแลง การอุมน้ําของดิน พื้นที่ชลประทาน ปริมาณน้ําใตดิน จํานวน
               วันที่ฝนตกรายปเฉลี่ย และการใชประโยชนที่ดิน มีคาถวงเปน 3 : 2.5 : 2 : 1.5 : 1 : 1 ตามลําดับ พบวา

               สามารถจัดกลุมระดับความเสี่ยงภัยแลงบริเวณภาคตะวันออกเปน 4 ระดับ คือ ระดับไมเสี่ยงภัยแลงมีพื้นที่
               8,370.24ตารางกิโลเมตร เสี่ยวงภัยแลงระดับต่ํามีพื้นที่ 10,236.22 ตารางกิโลเมตร เสี่ยงภัยแลงระดับปาน
               กลางมีพื้นที่ 10,343.06 ตารางกิโลเมตร และเสี่ยงภัยแลงระดับสูงมีพื้นที่ 5,661.74 ตารางกิโลเมตร
                           ตรีรัตน และคณะ (2549) ไดศึกษาการประเมินโอกาสเกิดความแหงแลงเชิงพื้นที่ในลุมน้ํากวาน

               พะเยา  ในพื้นที่อําเภอเมือง  อําเภอแมใจและบางสวนของ กิ่งอําเภอภูกามยาว  ใชปจจัยดานอุทกวิทยา
               อุตุนิยมวิทยาและ การเกษตร พบวาพื้นที่สวนใหญที่โอกาสเกิดพื้นที่แหงแลงปานกลาง คิดเปนพื้นที่ 655.45
               ตารางกิโลเมตร (69.57%)  พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดพื้นที่แหงแลงต่ําหรือ ไมเกิด  คิดเปนพื้นที่  149.92  ตาราง

               กิโลเมตร (15.91%) และพื้นที่ที่มีโอกาสพื้นที่แหงแลงสูงคิดเปนพื้นที่ 136.82 ตารางกิโลเมตร (14.52%)
                           จิตราพร (2554) ไดศึกษาเรื่องการวิเคราะหพื้นที่เสี่ยงภัยแลงบริเวณลุมน้ําแมกลาง เพื่อการใช
               ประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหหาพื้นที่เสี่ยงภัยแลง และเสนอแนะแนวทางเพื่อให
               เกิดการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืนบริเวณลุมน้ําแมกลาง  จังหวัดเชียงใหม  โดยใชการตัดสินใจแบบหลาย
               เกณฑและระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรทําการศึกษาวิเคราะห  7  เกณฑปจจัยที่เกี่ยวของ  ไดแก  ปริมาณ

               น้ําฝนเฉลี่ยรายป การใชประโยชนที่ดิน ความสามารถในการอุมน้ําของดิน คาการใชน้ําของพืช ความหนาแนน
               ของลําธาร  ขนาดของพื้นที่ลุมน้ํายอย  และความลาดชัน  รวมกับการประยุกตใชวิธีการตัดสินใจดวย
               กระบวนการวิเคราะหตามลําดับชั้นเพื่อลําดับหนวยพื้นที่ศึกษาและจัดกลุมตามระดับความเสี่ยงภัยแลงเปน 5

               ระดับ  คือ  พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงมากที่สุด  มาก  ปานกลาง  นอย  และไมเสี่ยงตอการเกิดภัยแลงจาก
               การศึกษา พบวาพื้นที่ลุมน้ําแมกลางซึ่งมีเนื้อที่ทั้งหมด 606.07 ตารางกิโลเมตร ถูกจัดเปนพื้นที่เสี่ยงตอการ
               เกิดภัยแลงมากที่สุด 3,528 ไร หรือ 5.65 ตารางกิโลเมตร พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงมาก 16,541 ไร หรือ
               26.47  ตารางกิโลเมตร  พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงปานกลาง  103,055  ไร  หรือ  164.85  ตารางกิโลเมตร

               พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงนอย192,959 ไร หรือ 308.73 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ที่ไมเสี่ยงตอการเกิดภัยแลง
               62,711 ไร หรือ100.34 ตารางกิโลเมตร โดยแนวทางบรรเทาภาวะภัยแลงในพื้นที่ที่สามารถกระทําไดตามแนว
               ทางการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน คือ การปองกันรักษาและฟนฟูพื้นที่ปาไม การสรางแหลงเก็บกักน้ํา การ
               จัดระบบปลูกพืชโดยการเลือกชนิดพันธุพืชและชวงเวลาปลูกที่เหมาะสมและการอนุรักษดินและน้ําโดยการ

               ปลูกหญาแฝก และการเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59