Page 55 - Management_agricultural_drought_2561
P. 55

บทที่ 4

                                         สถานการณการเกิดภัยแลงในประเทศไทย

               4.1    สถานการณภัยแลง

                      ภัยแลงในประเทศไทยสวนใหญมีผลกระทบตอการเกษตรกรรม โดยเปนภัยแลง  ที่เกิดจากขาดฝน
               หรือฝนแลงในชวงฤดูฝน และเกิดฝนทิ้งชวงในเดือนมิถุนายนตอเนื่องเดือนกรกฎาคม พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ
               จากภัยแลงมาก ไดแก บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เพราะเปนบริเวณที่อิทธิพลของมรสุม

               ตะวันตกเฉียงใตเขาไปไมถึง และถาปใดไมมีพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนผานในแนวดังกลาวแลวจะกอใหเกิดภัย
               แลงรุนแรงมากขึ้น นอกจากพื้นที่ดังกลาวแลว ยังมีพื้นที่อื่นๆ ที่มักจะประสบปญหาภัยแลงเปนประจํา
                      ภัยแลงในประเทศไทยจะเกิดใน 2 ชวง ไดแก
                      1)  ชวงฤดูหนาวตอเนื่องถึงฤดูรอน  ซึ่งเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเปนตนไป บริเวณประเทศ
               ไทยตอนบน (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก) จะมีปริมาณฝนลดลงเปน

               ลําดับ จนกระทั่งเขาสูฤดูฝนในชวงกลางเดือนพฤษภาคมของปถัดไป ซึ่งภัยแลงลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเปนประจําทุกป
                      2)  ชวงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนทิ้งชวงเกิดขึ้น ภัยแลง
               ลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะทองถิ่นหรือบางบริเวณ บางครั้งอาจครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวางเกือบทั่วประเทศ

                     ในระยะเวลาที่ผานมา พื้นที่หลายแหงของประเทศประสบกับความแหงแลงมากผิดปกติ แมวาเปน
               เหตุการณที่เกิดขึ้นเนื่องจากความผันแปรของธรรมชาติ แตไดกอปญหาและสรางผลกระทบกับขาดแคลนน้ํา
               เพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค และอื่น ๆ ซึ่งคาดวาจะทวีความรุนแรงมากขึ้น

               4.2    ความเสียหายจากภัยแลง
                      จากรายงานสถิติการเกิดภัยแลงของกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ตั้งแต พ.ศ. 2532 ถึง ป พ.ศ.

               2560 พบวาใน พ.ศ. 2537 มีพื้นที่การเกษตรไดรับความเสียหายจากภัยแลงมากที่สุด คิดเปนเนื้อที่
               17,923,817 ไร ถากลาวในดานของมูลคาความเสียหาย พบวา ใน พ.ศ. 2548 มีมูลคาความเสียหายมากที่สุด
               คือ 7,565.86 ลานบาท ดังรายละเอียด(ตารางที่ 4.1)
                     -  พ.ศ. 2532  จังหวัดที่ไดรับความเสียหายจากภัยแลง ทั้งสิ้น 29  จังหวัด มีราษฎรประสบภัย

               จํานวน1,760,192 คน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 1,294,240 ไร ปศุสัตว จํานวน 197 ตัว โดยคิดมูลคา
               ความเสียหายเทากับ 121.97 ลานบาท
                     -  พ.ศ. 2533  จังหวัดที่ไดรับความเสียหายจากภัยแลง ทั้งสิ้น 48  จังหวัด มีราษฎรประสบภัย
               จํานวน 536,550 คน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 1,970,703 ไร ปศุสัตว จํานวน 872 ตัว โดยคิดมูลคา

               ความเสียหายเทากับ 92.17 ลานบาท
                     -  พ.ศ. 2534  จังหวัดที่ไดรับความเสียหายจากภัยแลง ทั้งสิ้น 59  จังหวัด มีราษฎรประสบภัย
               จํานวน 4,926,177 คน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 1,037,271 ไร ปศุสัตว จํานวน 290 ตัว โดยคิดมูลคา
               ความเสียหายเทากับ 262.17 ลานบาท

                     -  พ.ศ. 2535  จังหวัดที่ไดรับความเสียหายจากภัยแลง ทั้งสิ้น 70  จังหวัด มีราษฎรประสบภัย
               จํานวน 8,100,916 คน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 5,334,471 ไร ปศุสัตว จํานวน 417 ตัว โดยคิดมูลคา
               ความเสียหายเทากับ 176.18 ลานบาท

                     -  พ.ศ. 2536  จังหวัดที่ไดรับความเสียหายจากภัยแลง ทั้งสิ้น 68  จังหวัด มีราษฎรประสบภัย
               จํานวน 9,107,675 คน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 2,040,443 ไร ปศุสัตว จํานวน 726 ตัว โดยคิดมูลคา
               ความเสียหายเทากับ 198.76 ลานบาท
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60