Page 45 - Management_agricultural_drought_2561
P. 45

38



                           3)  ดานสิ่งแวดลอม สงผลกระทบตอสัตวตางๆ ทําใหขาดแคลนน้ํา เกิดโรคกับสัตว สูญเสียความ
               หลากหลายทางชีวภาพในธรรมชาติ รวมถึงผลกระทบดานอุทกวิทยา ทําใหระดับน้ําในดินมีการเปลี่ยนแปลง

               พื้นที่ชุมน้ําลดลง ความเค็มของน้ําเปลี่ยนแปลง คุณภาพน้ําเปลี่ยนแปลง เกิดการกัดเซาะดิน ไฟปาเพิ่มขึ้น
               สงผลตอคุณภาพอากาศและสูญเสียทัศนียภาพเปนตน

                     3.1.7  บริเวณที่เกิดภัยแลงเปนประจํา
                           ภัยแลงในประเทศไทยสงผลกระทบตออาชีพ การเกษตรที่อยูนอกเขตชลประทาน โดยตรงเปน
               ภัยแลงที่เกิดจากการขาดฝน หรือฝนแลงในชวงฤดูฝนและเกิดฝนทิ้งชวง โดยเฉพาะชวงเดือนมิถุนายนตอเนื่อง

               ถึงเดือนกรกฎาคม และชวงเดือนที่เกิดภาวะฝนแลงและฝนทิ้งชวงแตละภาคของประเทศไทยจะเริ่มตั้งแตเดือน
               มกราคมในภาคใตฝงตะวันตก เรื่อยมาจนถึงเดือนกรกฎาคมในแตละภูมิภาค

               ตารางที่ 3.1 พื้นที่และชวงเดือนที่เกิดฝนแลงและฝนทิ้งชวง


                                                                                             ใต
                เดือน/ภาค     เหนือ    ตะวันออกเฉียงเหนือ     กลาง     ตะวันออก
                                                                                  ฝงตะวันออก  ฝงตะวันตก


                 มกราคม                                                                           ฝนแลง

                กุมภาพันธ                   ฝนแลง          ฝนแลง                               ฝนแลง

                 มีนาคม      ฝนแลง          ฝนแลง          ฝนแลง     ฝนแลง       ฝนแลง       ฝนแลง

                 เมษายน      ฝนแลง          ฝนแลง          ฝนแลง     ฝนแลง                    ฝนแลง

                พฤษภาคม                                                                           ฝนแลง

                 มิถุนายน   ฝนทิ้งชวง      ฝนทิ้งชวง      ฝนทิ้งชวง  ฝนทิ้งชวง

                กรกฎาคม  ฝนทิ้งชวง         ฝนทิ้งชวง      ฝนทิ้งชวง  ฝนทิ้งชวง

               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546)

               3.2  ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา
                     3.2.1  ปรากฏการณเอลนีโญ
                           1) ความหมายของปรากฏการณเอลนีโญ

                             ปรากฏการรเอลนีโญ หมายถึง การอุนขึ้นอยางผิดปกติของน้ําทะเลบริเวณตอนกลางและ
               ตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟกเขตรอน ซึ่งเกิดจากการออนกําลังลงของลมคา (trade wind)  ซึ่งลักษณะ
               ปกติของปรากฏการณเอลนีโญที่จะปรากฏใหเห็น คือ
                                (1)  การอุนขึ้นผิดปกติของผิวน้ําทะเล

                                (2)  กระแสน้ําอุนที่ไหลลงทางใตตามชายฝงประเทศเปรู
                                (3) เกี่ยวของกับอุณหภูมิผิวน้ําทะเลที่สูงขึ้นทางดานตะวันออก และตอนกลางของแปซิฟก
               เขตศูนยสูตร
                                (4)  ปรากฏตามชายฝงประเทศเอกวาดอร และเปรูเหนือ (บางครั้งประเทศชิลี)

                                (5)  เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศที่ระดับน้ําทะเล
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50