Page 41 - Management_agricultural_drought_2561
P. 41

บทที่ 3

                                                    การตรวจเอกสาร


               3.1.  ความแหงแลง
                     3.1.1  ความหมายของความแหงแลง
                           ความแหงแลงเปนเหตุการณทางธรรมชาติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

               สาเหตุของความแหงแลงมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลก ซึ่งอาจจะเปนผลจากการลดลงของพื้นที่ปา
               ไม    การพัฒนาดานอุตสาหกรรมทําใหกาซเรือนกระจกการเพิ่มขึ้น     สงผลกระทบตอปริมาณฝน
               (คณะกรรมาธิการเกษตรและสหกรณวุฒิสภา, 2549: 19) ความแหงแลงตามฤดูกาลเปนเหตุการณธรรมชาติที่
               เกิดขึ้นทุกป  สามารถเกิดไดทุกสภาพภูมิอากาศและทุกพื้นที่  แตมีลักษณะที่แตกตางกันไปแตละพื้นที่  ความแหง

               แลงที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของปริมาณฝนที่มีปริมาณนอย ไมเพียงพอ  และจากการที่ฝนทิ้งชวงเปน
               ระยะเวลานาน  ทําใหเกิดความไมสมดุลทางอุทกวิทยา  ความรุนแรงของความแหงแลงขึ้นอยูกับปริมาณน้ําฝน
               ชวงเวลาของฝนแลง และ ฝนทิ้งชวง โดยปกติปริมาณน้ําฝนในแตละปไมมีความแตกตางกันมาก แตเนื่องจาก
               ความตองการมีความแตกตางกัน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร ทําใหเกิดการขยายตัวของที่ดินทํากิน ที่

               อยูอาศัย รวมถึงการพัฒนาดานตางๆ ทั้งการเกษตร อุตสาหกรรม ทําใหเกิดกิจกรรมตางๆ เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น
               ความตองการน้ําจึงมีปริมาณเพิ่มขึ้นตามไปดวย และการเก็บน้ําที่มีปริมาณเทาเดิม หากในปใดมีปริมาณฝนตก
               นอยกวาความตองการก็จะเกิดการขาดแคลนน้ํา และ หากฝนทิ้งชวงเปนระยะเวลานานก็จะยิ่งทําใหเกิดความ
               แหงแลงมากขึ้น  ความแหงแลงจําแนกประเภทได  4  ประเภท คือ  ความแหงแลงดานอุตุนิยมวิทยา

               (Meteorological) ความแหงแลงดานอุทกวิทยา(Hydrological)  ความแหงแลงทางการเกษตร(Agricultural) และ
               ความแหงแลงทางเศรษฐศาสตรและสังคม(Socioeconomic) (World Bank, 2006: 79)
                           ความแหงแลง  (Drought)  หมายถึง  ปรากฏการณที่ขาดน้ําเนื่องจากชวงขาดฝนเปนระยะ

               เวลานานจนทําใหไมมีน้ําใชอยางพอเพียง (เกษม, 2551: 259)
                           ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยขอนแกน (2543: 36) ภัยแลง (Drought) เปนภัยธรรมชาติหรือ
               ปรากฏการณที่เกิดในชวงเวลาซึ่งอากาศแหงผิดปกติหรือขาดฝน ทําใหเกิดจากการขาดแคลนน้ําใช และถามี
               ความรุนแรงอาจทําใหพืชผลตลอดจนสิ่งมีชีวิตตางๆ  เสียหาย  ความรุนแรงของความแหงแลงมีความสัมพันธ
               สอดคลองกับสภาวะฝนแลงหรือความแหงแลงของลมฟาอากาศ ซึ่งเกิดจากการมีฝนตกนอยกวาปกติ หรือฝน

               ไมตกตามฤดูกาล
                           ภัยแลง (Drought) เปนภัยพิบัติตามธรรมชาติที่เกิดจากการมีน้ําไมเพียงพอ สงผลกระทบตอการ
               ดําเนินชีวิตและตอระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งพืชและสัตว การเกิดภัยแลงไมมีการบอกหรือแจงลวงหนาหรือการ

               พยากรณไดวาจะเกิดขึ้นเมื่อใด (จิราพร, 2549 : 7)
                           กรมอุตุนิยมวิทยา  ( 2553ข)  ภัยแลง  คือ  ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ําในพื้นที่หนึ่งเปน
               เวลานาน จนกอใหเกิดความแหงแลง และสงผลกระทบตอชุมชน
                           จารการตรวจเอกสารสามารถสรุปไดวาความแหงแลงขึ้นอยูกับปจจัยตางๆที่ผูคนสนใจ โดยรวม

               แลวความแหงแลง หมายถึง สภาพพื้นที่ที่มีการขาดน้ําจากการที่ฝนทิ้งชวงเปนระยะเวลานานหรือ ฝนไมตก
               ตามฤดูกาล เปนพื้นที่ที่อยูหางจากแหลงน้ํา หรือ ไมมีแหลงน้ําเพียงพอ ทําใหพื้นดิน ใตพื้นดิน ขาดความชุมชื้น
               ประกอบกับดินมีความสามารถระบายน้ําไดดี ความแหงแลงสามารถเกิดขึ้นไดทุกฤดูกาล ทุกสภาพพื้นที่ และ
               อาจคงอยูไดอยางไมจํากัดเวลา  ความแหงแลงอาจสงผลกระทบตอชนกลุมนอย หรือ อาจถึงขั้นสรางความ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46