Page 43 - Management_agricultural_drought_2561
P. 43

36
















































               ภาพที่ 3.1 การเกิดความแหงแลง
               ที่มา: World Bank (2006)

                     3.1.3  ระดับความรุนแรงของความแหงแลง

                           ความรุนแรงของความแหงแลงมีความสัมพันธสอดคลองกับสภาวะฝนแลง หรือความแหงแลง
               ของลมฟาอากาศ ซึ่งเกิดจากการมีฝนตกนอยกวาปกติ หรือ ฝนไมตกตามฤดูกาลทําใหเกิดการขาดแคลนน้ําใช
               พืชพันธุตางๆ ขาดน้ําหลอเลี้ยง ขาดความชุมชื้น ทําใหพืชผลไมสมบูรณ หรือ เจริญเติบโตใหผลตามปกติแต
               เกิดความเสียหาย ระดับความรุนแรงแบงไดเปน 3 ระดับ (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2553) คือ

                           1)    ความแหงแลงอยางเบา หรือ ชวงฝนทิ้ง  (Dry  Spell)  เปนสภาวะความแหงแลงที่มีฝนตก
               เฉลี่ยไมถึงวันละ 1 มิลลิเมตร เปนเวลาตอเนื่องกันถึง 15 วัน ในชวงฤดูฝนความแหงแลงแบบนี้เกิดขึ้นตามภาค
               ตางๆ ในประเทศไทยเสมอ ในตอนตนฤดูฝน ระหวางเดือนมิถุนายน และ เดือนกรกฎาคม
                           2)  ความแหงแลงปานกลาง หรือ ความแหงแลงชั่วระยะ (Partial Drought) เปนชวงฝนแลง ที่มี

               ฝนตกในฤดูฝนเฉลี่ยไมเกินวันละ 0.25 มิลลิเมตร. เปนเวลานานตอเนื่องกันไมนอยกวา 29 วัน ความแหงแลง
               แบบนี้เกิดขึ้นถึงขั้นขาดแคลนน้ํา มีผลกระทบตอการกสิกรรมความเปนอยูของประชาชน และเศรษฐกิจของ
               ประเทศ แตไมคอยไดเกิดขึ้นในประเทศไทยบอยนัก
                           3)  ความแหงแลงอยางรุนแรง หรือ ความแหงแลงสัมบูรณ (Absolute Drought) เปนความแหง

               แลงที่ฝนไมตกในฤดูฝน ตอเนื่องกันไมนอยกวา  15  วัน หรืออาจมีตกบางแตไมมีวันใดที่มีฝนตกถึง  0.25
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48