Page 64 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 64

55



               ปริมาณน้ําฝนรายป จํานวนวันที่ฝนตกตอป ระยะหางจากแหลงน้ํา แหลงน้ําใตดิน พืชพรรณที่ขึ้นปกคลุมดิน
               เนื้อดิน  ความลาดชันของพื้นที่  ความหนาแนนของแมน้ํา  โดยการกําหนดคาถวงน้ําหนักของปจจัย  และคา

               คะแนนของประเภทขอมูลของแตละปจจัยมากําหนดพิสัย 3 ชวง และจัดทําแผนที่โอกาสเกิดความแหงแลง 3
               ระดับ พบวาพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดความแหงแลงสูง มักพบบริเวณที่ราบขั้นบันไดทางดานตะวันตกของทะเลสาบ
                           สีใส  (2547)  ไดวิเคราะหหาพื้นที่เสี่ยงภัยแลงในจังหวัดพิษณุโลก  โดยการประยุกตใชระบบ
               สารสนเทศภูมิศาสตร ใชตัวแปรดานสิ่งแวดลอม 15 ตัวแปร รวม 4 ดาน คือดานน้ําฝน ดานศักยภาพน้ําใตดิน

               และลุมน้ํา ดานระยะหางจากแหลงน้ํา และดานสภาพภูมิประเทศและดิน จําแนกระดับการศึกษาออกเปน 4
               ระดับ คือ ไมเสี่ยง เสี่ยงต่ํา เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงสูง จากการศึกษาพบวา ตัวแปรทั้ง 15 ตัวแปร สามารถใช
               รวมกันเพื่ออธิบายความเสี่ยงตอภัยแลงของพื้นที่ไดรอยละ  95.4  โดยระดับความเสี่ยงภัยแลงมีความสัมพันธ
               กับปจจัยดานศักยภาพน้ําใตดินและลุมน้ํา(R=0.95)  มากกวาปจจัยดานสภาพภูมิประเทศและดิน  ปจจัยดาน

               ระยะหางจากแหลงน้ําปจจัยดานน้ําฝน  (R=0.92, 0.91,  0.88)  ตามลําดับ  และพบวามี  4  ตัวแปร  ที่มี
               ความสัมพันธสูงกับระดับความเสี่ยงภัยแลงคือ  ระยะหางจากพื้นที่ชลประทาน  ศักยภาพชั้นหินใหน้ํา
               ความสามารถใหน้ําของบอบาดาล  และระยะหางจากแหลงน้ําผิวดิน  ซึ่งจากการวิเคราะหพบวาจังหวัด
               พิษณุโลกมีพื้นที่ทั้งหมด 6,809,375 ไร เปนพื้นที่ที่ไมเสี่ยงภัยแลง 1,564,234 ไร (23.14%) เสี่ยงภัยแลงระดับ

               ต่ํา 1,971,628 ไร (29,17%)เสี่ยงภัยแลงระดับปานกลาง 2,024,055 ไร (29.94%) และเสี่ยงภัยแลงระดับสูง
               1,199,458 ไร (17.75%)
                           วีระศักดิ์ และ พูลศิริ (2548) ไดศึกษาการกําหนดพื้นที่เสี่ยงภัยแลงบริเวณภาคตะวันออกของ

               ประเทศไทย  โดยศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดสภาวะแหงแลง  ใชการวิเคราะหหาความสัมพันธเชิงพื้นที่ระหวาง
               ปจจัยตาง ๆ รวมกับการใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรในการจัดเตรียมขอมูลพื้นฐาน วิเคราะห และจัดทํา
               แผนที่  ซึ่งการวิเคราะหเพื่อกําหนดพื้นที่เสี่ยงภัยแลงไดกําหนดคาถวงน้ําหนักของแตละปจจัยตามลําดับของ
               อิทธิพลที่มีตอความแหงแลง คือ ดัชนีฝนแลง การอุมน้ําของดิน พื้นที่ชลประทาน ปริมาณน้ําใตดิน จํานวน
               วันที่ฝนตกรายปเฉลี่ย และการใชประโยชนที่ดิน มีคาถวงเปน 3 : 2.5 : 2 : 1.5 : 1 : 1 ตามลําดับ พบวา

               สามารถจัดกลุมระดับความเสี่ยงภัยแลงบริเวณภาคตะวันออกเปน 4 ระดับ คือ ระดับไมเสี่ยงภัยแลงมีพื้นที่
               8,370.24ตารางกิโลเมตร เสี่ยวงภัยแลงระดับต่ํามีพื้นที่ 10,236.22 ตารางกิโลเมตร เสี่ยงภัยแลงระดับปาน
               กลางมีพื้นที่ 10,343.06 ตารางกิโลเมตร และเสี่ยงภัยแลงระดับสูงมีพื้นที่ 5,661.74 ตารางกิโลเมตร

                           จิราพร  (2549)  ไดใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อประเมินหาพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลง
               โดยวิเคราะหการถดถอยในพื้นที่จังหวัดลพบุรี โดยใชปจจัยดานอุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา อุทกธรณีวิทยา ภูมิ
               ประเทศ  ดานปฐพีวิทยา  และการใชประโยชนที่ดิน  ผลการศึกษา  พบวาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดภัยแลง
               อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับเชื่อมั่นรอยละ 95 มี 6 ตัวแปรคือ จํานวนวันฝนตกรายปเฉลี่ย ความลาดชัน

               ของพื้นที่ การใชประโยชนที่ดิน ระดับความสูงของพื้นที่ ระยะหางจากพื้นที่ชลประทาน และปริมาณน้ําฝนราย
               ปเฉลี่ย สําหรับปริมาณน้ําใตดิน และคุณสมบัติในการระบายน้ํา ไมมีความสัมพันธตอการเกิดภัยแลงที่ระดับ
               ความเชื่อมั่นรอยละ 95
                           ตรีรัตน และคณะ (2549) ไดศึกษาการประเมินโอกาสเกิดความแหงแลงเชิงพื้นที่ในลุมน้ํากวาน

               พะเยา  ในพื้นที่อําเภอเมือง  อําเภอแมใจและบางสวนของ กิ่งอําเภอภูกามยาว  ใชปจจัยดานอุทกวิทยา
               อุตุนิยมวิทยาและ การเกษตร พบวาพื้นที่สวนใหญที่โอกาสเกิดพื้นที่แหงแลงปานกลาง คิดเปนพื้นที่ 655.45
               ตารางกิโลเมตร (69.57%)  พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดพื้นที่แหงแลงต่ําหรือ ไมเกิด  คิดเปนพื้นที่  149.92  ตาราง
               กิโลเมตร (15.91%) และพื้นที่ที่มีโอกาสพื้นที่แหงแลงสูงคิดเปนพื้นที่ 136.82 ตารางกิโลเมตร (14.52%)
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69