Page 66 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 66

57



               0.911  รองลงมาคือลักษณะเนื้อดิน  ซึ่งมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ  0.852  สาหรับปจจัยอื่นๆ ที่ใชใน
               การศึกษามีคาความสัมพันธไมแตกตางกัน และผลการศึกษา ความเสี่ยงตอความแหงแลง

                           จิตราพร (2554) ไดศึกษาเรื่องการวิเคราะหพื้นที่เสี่ยงภัยแลงบริเวณลุมน้ําแมกลาง เพื่อการใช
               ประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหหาพื้นที่เสี่ยงภัยแลง และเสนอแนะแนวทางเพื่อให
               เกิดการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืนบริเวณลุมน้ําแมกลาง  จังหวัดเชียงใหม  โดยใชการตัดสินใจแบบหลาย
               เกณฑและระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรทําการศึกษาวิเคราะห  7  เกณฑปจจัยที่เกี่ยวของ  ไดแก  ปริมาณ

               น้ําฝนเฉลี่ยรายป การใชประโยชนที่ดิน ความสามารถในการอุมน้ําของดิน คาการใชน้ําของพืช ความหนาแนน
               ของลําธาร  ขนาดของพื้นที่ลุมน้ํายอย  และความลาดชัน  รวมกับการประยุกตใชวิธีการตัดสินใจดวย
               กระบวนการวิเคราะหตามลําดับชั้นเพื่อลําดับหนวยพื้นที่ศึกษาและจัดกลุมตามระดับความเสี่ยงภัยแลงเปน 5
               ระดับ  คือ  พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงมากที่สุด  มาก  ปานกลาง  นอย  และไมเสี่ยงตอการเกิดภัยแลงจาก

               การศึกษา พบวาพื้นที่ลุมน้ําแมกลางซึ่งมีเนื้อที่ทั้งหมด 606.07 ตารางกิโลเมตร ถูกจัดเปนพื้นที่เสี่ยงตอการ
               เกิดภัยแลงมากที่สุด 3,528 ไร หรือ 5.65 ตารางกิโลเมตร พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงมาก 16,541 ไร หรือ
               26.47  ตารางกิโลเมตร  พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงปานกลาง  103,055  ไร  หรือ  164.85  ตารางกิโลเมตร
               พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงนอย192,959 ไร หรือ 308.73 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ที่ไมเสี่ยงตอการเกิดภัยแลง

               62,711 ไร หรือ100.34 ตารางกิโลเมตร โดยแนวทางบรรเทาภาวะภัยแลงในพื้นที่ที่สามารถกระทําไดตามแนว
               ทางการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน คือ การปองกันรักษาและฟนฟูพื้นที่ปาไม การสรางแหลงเก็บกักน้ํา การ
               จัดระบบปลูกพืชโดยการเลือกชนิดพันธุพืชและชวงเวลาปลูกที่เหมาะสมและการอนุรักษดินและน้ําโดยการ

               ปลูกหญาแฝก และการเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน
                     3.3.3  งานวิจัยเกี่ยวกับการประเมิน ติดตาม และตรวจสอบความแหงแลง
                           อภิรัฐ (2544) ไดประเมินความแหงแลงดวยดัชนีความแหงแลงโดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
               ในลุมน้ําแมกลอง ขอมูลที่นํามาวิเคราะหคือ ปริมาณน้ําฝนรายวัน จํานวนวันที่ฝนตก จํานวนวันที่ฝนทิ้งชวง
               สูงสุดรายป และการใชที่ดิน ดัชนีความแหงแลงรายป ที่เลือกใช คือ decile range ดัชนีความแหงแลงราย

               เดือน generalized monsoon index (GMI) และ aridity index จากการศึกษาสามารถระบุไดวาเขตที่มี
               สภาวะฝนแลงที่สุด  คือ  ลุมน้ํายอยลําตะเพิน  และเขตที่มีสภาวะฝนปกติและชุมชื้น คือ ลุมน้ํายอยแควใหญ
               ตอนบน หวยแมจัน หวยแมละมุง หวยเขยง หวยบองตี้ หวยแมน้ํานอย ที่ราบแมกลอง และลําภาชี และดัชนี

               ความแหงแลงที่เหมาะสมในการวิเคราะหความแหงแลงฝนรายปคือ Decile Range  ดัชนีความแหงแลงราย
               เดือนที่เหมาะสมคือ Generalized Monsoon (GMI) และ Aridity Index สําหรับฝนรายป และจํานวนวันที่มี
               ฝนตกรวมในลักษณะตางๆ มีความสัมพันธกันในทางเชิงลบ
                           อมเรศ (2546) ไดศึกษาสภาพความแหงแลงลุมน้ํายม โดยเริ่มจากการตรวจสอบสภาพความ

               แหงแลงที่ผานมา คนหาสาเหตุ และความรุนแรงของสภาพความแหงแลงในแตละพื้นที่ โดยยึดหลักปริมาณน้ํา
               ที่มีในพื้นที่โดยสภาพธรรมชาติคือน้ําฝนและน้ําทา  เทียบกับการใชน้ําในกิจกรรมตางๆ  ในแตละพื้นที่แลว
               กําหนดดัชนีวัดความแหงแลงในแตละพื้นที่ลุมน้ํายม จากการศึกษาพบวา พื้นที่ลุมน้ํายมตอนลางในแมน้ํายม
               สายหลักจะประสบปญหาขาดแคลนน้ําโดยเฉลี่ยเกือบทุกป และในรอบ 5-6 ป จะรุนแรงมากครั้งหนึ่ง สวน

               พื้นที่ที่อยูไกลจากแมน้ําก็ประสบปญหาภัยแลงในชวงตนฤดูฝนและในฤดูแลง  เนื่องจากปริมาณฝนในชวงฤดู
               แลงมีคานอยมากสวนในพื้นที่ลุมน้ํายมตอนบนประสบปญหาความแหงแลงนอยกวาตอนลาง เนื่องจากปริมาณ
               ฝนโดยรวมสูงกวาพื้นที่อื่นๆ และการใชน้ํายังอยูในเกณฑต่ํา สวนน้ําอุปโภคบริโภคขาดแคลนมากในชวงฤดูแลง
               เกือบทุกพื้นที่ของลุมน้ํายม  แตจะขาดแคลนน้ําในพื้นที่จังหวัดสุโขทัยและจังหวัดแพร  นอกจากนี้ยังพบวาใน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71