Page 62 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 62

53



               รอนจะไดรับผลกระทบแลวลานีญายังมีอิทธิพลกับพื้นที่อื่นซึ่งอยูหางไกลออกไปดวย  โดยพบวาแอฟริกาใตมี
               แนวโนมที่ฝนจะตกมากกวาปกติและมีความเสี่ยงตอการเกิดอุทกภัยมากขึ้น  ขณะที่บริเวณตะวันออกของ

               แอฟริกาและตอนใตของอเมริกาใตมีฝนนอยและเสี่ยงตอการเกิดความแหงแลง
                           ผลกระทบของลานีญาตอรูปแบบของอุณหภูมิ พบวา ในชวงลานีญาอุณหภูมิผิวพื้นบริเวณเขต
               รอนโดยเฉลี่ยจะลดลงและมีแนวโนมต่ํากวาปกติ ในชวงฤดูหนาวของซีกโลกเหนือทางตะวันตกเฉียงเหนือของ
               มหาสมุทรแปซิฟกบริเวณประเทศญี่ปุนและเกาหลีมีอุณหภูมิต่ํากวาปกติ  ขณะที่ทางตะวันตกเฉียงใตของ

               มหาสมุทรรวมถึงพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลียมีอุณหภูมิสูงกวาปกติ สวนทางตอนเหนือของ
               สหรัฐอเมริกาตอเนื่องถึงตอนใตของแคนาดามีอากาศหนาวเย็นกวาปกติ  นอกจากนั้นยังพบวาลานีญามี
               ผลกระทบตอพายุหมุนเขตรอน ในมหาสมุทรแอตแลนติกและอาวเม็กซิโก โดยลานีญาทําใหมีจํานวนพายุเพิ่ม
               มากขึ้น ประเทศสหรัฐอเมริกาและหมูเกาะแคริบเบียนจึงมีโอกาสประสบกับพายุเฮอรริเคนมากขึ้น




































               ภาพที่ 11  รูปแบบของฝนและอุณหภูมิที่ผิดปกติในปลานีญา
               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546ข)

                     3.2.3  ผลกระทบของปรากฏการณเอลนีโญและลานีญาตอปริมาณฝนและอุณหภูมิในประเทศไทย
                           จากการศึกษาสภาวะฝนและอุณหภูมิของประเทศไทยในปที่เกิดปรากฏการณเอลนีโญ ของ
               มันฑนา และ นงคนาถ (2545) โดยใชวิธีวิเคราะหคา composite percentile  ของปริมาณฝน และ
               composite standardized ของอุณหภูมิในปที่เกิดปรากฏการณเอลนีโญ จากขอมูลปริมาณฝนและอุณหภูมิ

               รายเดือน ในชวงเวลา 50  ป ตั้งแต พ.ศ. 2494  ถึง 2543  พบวา ในปที่เกิดปรากฏการณเอลนีโญปริมาณฝน
               ของประเทศไทยโดยเฉพาะในชวงฤดูรอนและตนฤดูฝน สวนใหญจะต่ํากวาปกติ (rainfall Index นอยกวา 50)
               และพบวาปรากฏการณเอลนีโญขนาดปานกลางถึงรุนแรงมีผลกระทบทําใหปริมาณฝนต่ํากวาปกติมากขึ้น
               สําหรับอุณหภูมิ ปรากฏวาสูงกวาปกติทุกฤดูในปเอลนีโญ โดยเฉพาะชวงฤดูรอนและตนฤดูฝน และสูงกวาปกติ

               มากขึ้นในกรณีที่ปรากฏการณเอลนีโญมีขนาดปานกลางถึงรุนแรง อยางไรก็ตามจากการศึกษาพบวาในชวง
               กลางและปลายฤดูฝน ไมสามารถหาขอสรุปเกี่ยวกับสภาวะฝนในปเอลนีโญไดชัดเจน นั่นคือ ปริมาณฝนของ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67