Page 58 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 58

49



               ตารางที่ 12 ความเสียหายจากภัยแลง (ตอ)
                                                                ความเสียหาย
                         จํานวน      ราษฎร         ราษฎร          พื้นที่
                 พ.ศ.                                                           ปศุสัตว        มูลคา
                        (จังหวัด)   ประสบภัย      ประสบภัย      การเกษตร         (ตัว)         (ลานบาท)
                                      (คน)        (ครัวเรือน)     (ไร)
                2549      61       11,862,358      2,960,824      578,753         -                495.28

                2550      66       16,754,980      4,378,225     1,350,118        -                198.30
                2551      61      135,298,895      3,531,570      524,999         -                103.90
                2552      62       17,353,358      4,500,861      594,434         -                108.35
                2553      64       15,740,824      4,077,411     1,716,853        -              1,415.22

                2554      55       16,560,561      4,835,321      811,680         -                131.86
                2555      53       15,235,830      4,188,516     1,486,512        -                399.18
                2556      58        9,070,144      2,678,487     2,406,665        -              2,914.99

                2557      50        5,771,955      1,747,870     1,675,015        -                 68.98
                                                                                 รวม           18,244.99
               ที่มา : กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (2557)

                     3.1.8  บริเวณที่เกิดภัยแลงเปนประจํา
                           ภัยแลงในประเทศไทยสงผลกระทบตออาชีพการเกษตรที่อยูนอกเขตชลประทาน โดยตรงเปน
               ภัยแลงที่เกิดจากการขาดฝน หรือฝนแลงในชวงฤดูฝนและเกิดฝนทิ้งชวง โดยเฉพาะชวงเดือนมิถุนายนตอเนื่อง

               ถึงเดือนกรกฎาคม และชวงเดือนที่เกิดภาวะฝนแลงและฝนทิ้งชวงแตละภาคของประเทศไทยจะเริ่มตั้งแตเดือน
               มกราคมในภาคใตฝงตะวันตก เรื่อยมาจนถึงเดือนกรกฎาคมในแตละภูมิภาค

               ตารางที่ 13 พื้นที่และชวงเดือนที่เกิดฝนแลงและฝนทิ้งชวง

                                                                                             ใต
                เดือน/ภาค     เหนือ    ตะวันออกเฉียงเหนือ    กลาง      ตะวันออก
                                                                                  ฝงตะวันออก  ฝงตะวันตก
                 มกราคม                                                                           ฝนแลง

                กุมภาพันธ                   ฝนแลง          ฝนแลง                               ฝนแลง
                 มีนาคม      ฝนแลง          ฝนแลง          ฝนแลง     ฝนแลง       ฝนแลง       ฝนแลง
                 เมษายน      ฝนแลง          ฝนแลง          ฝนแลง     ฝนแลง                    ฝนแลง
                พฤษภาคม                                                                           ฝนแลง

                 มิถุนายน   ฝนทิ้งชวง      ฝนทิ้งชวง     ฝนทิ้งชวง  ฝนทิ้งชวง
                กรกฎาคม  ฝนทิ้งชวง         ฝนทิ้งชวง     ฝนทิ้งชวง  ฝนทิ้งชวง
               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2557ค)
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63