Page 54 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 54

45



                     3.1.2  ประเภทของความแหงแลง
                           Wilhite และ Glantz (1985) และ World bank (2006) ไดจําแนกความแหงแลงตามลักษณะ

               การเกิดออกเปน 4 ประเภท ดังตอไปนี้ (ภาพที่ 7)
                           1)  ความแหงแลงเชิงอุตุนิยมวิทยา ( Meteorological Drought) เปนความแหงแลงที่เกิดขึ้น
               จากสภาพฝนทิ้งชวง หรือมีฝนตกนอยกวาระดับที่กําหนด ( Threshold) โดยชวงที่เกิดความแหงแลง (Period
               of Drought)  นิยามจากจํานวนวันที่มีฝนตกนอยกวาระดับที่กําหนด ความแหงแลงในทางอุตุนิยมวิทยาเปน

               จุดเริ่มตนของปญหาความแหงแลงประเภทอื่น ๆ ซึ่งเกิดขึ้นตามกันเปนลําดับ
                           2)  ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรม  (Agricultural of Drought)  เปนความแหงแลงซึ่งเปน
               ผลกระทบตอเนื่องมาจากความแหงแลงเชิงอุตุนิยมวิทยา ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรมจะมุงสนใจในเรื่องของ
               การเกิดฝนทิ้งชวง ซึ่งทําใหดินขาดความชุมชื้น และนอกจากนี้ความแหงแลงเชิงเกษตรกรรมยังขึ้นอยูกับชนิด

               ของพืชซึ่งมีความทนทานตอสภาพภูมิอากาศไดตางกัน ความตองการน้ําแตกตางกัน รวมทั้งลําดับขั้นตอนการ
               เจริญเติบโตของพืช ซึ่งลวนมีผลตอผลผลิตทางการเกษตรทั้งสิ้น
                           3)  ความแหงแลงเชิงอุทกวิทยา (Hydrological Drought) เปนความแหงแลงที่เกิดจากชวง
               ฤดูกาลที่มีปริมาณฝนตกนอยหรือไมมีฝนตก ทําใหระดับน้ําผิวดินและน้ําใตดินคือ น้ําในแมน้ํา อางเก็บน้ํา

               ทะเลสาบ และน้ําบาดาลลดระดับลง ซึ่งความแหงแลงเชิงอุทกวิทยานี้มักจะพิจารณาในระดับของลุมน้ํา ความ
               แหงแลงเชิงอุทกวิทยาเปนปญหาที่เกิดขึ้นอยางชา ๆ ตางจากความแหงแลวเชิงอุตุนิยมวิทยาและความแหง
               แลงเชิงเกษตรกรรม

                           4)  ความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคม  (Socioeconomic  Drought)  เปนความแหง
               แลงที่เกี่ยวของกับทรัพยากรที่มีอยู (Supply) และความตองการทรัพยากรนั้น (Demand) แตเนื่องจากความ
               จํากัดของทรัพยากรและประชากรมีความตองการทรัพยากรมาก จึงทําใหเกิดความขาดแคลนขึ้น ซึ่งความแหง
               แลงทางเศรษฐศาสตรและสังคมจะแตกตางออกไปจากความแหงแลงอื่น ๆ เนื่องจากมีเรื่องของความตองการ
               ใชและความจํากัดของทรัพยากรเขามาเกี่ยวของ ซึ่งโดยปกติแลวความตองการทรัพยากรจะเพิ่มขึ้นตามจํานวน

               ประชากร และความตองการบริโภคเพิ่มขึ้น ซึ่งความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคมจะเกิดขึ้นจนกวาการ
               เพิ่มขึ้นของประชากรและความตองการบริโภคจะปรับตัวเขาหากันจนเกิดความสมดุล
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59