Page 59 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 59

50



               3.2  ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา
                     3.2.1  ปรากฏการณเอลนีโญ

                           1)  ความหมายของปรากฏการณเอลนีโญ
                                ปรากฏการณเอลนีโญ หมายถึง การที่ผิวน้ําทะเลบริเวณตอนกลางและตะวันออกของ
               มหาสมุทรแปซิฟกเขตรอนอุนขึ้น กระแสน้ําอุนที่ไหลลงทางใตตามชายฝงประเทศเปรู จะเกี่ยวของกับอุณหภูมิ
               ผิวน้ําทะเลที่สูงขึ้นทางดานตะวันออก และตอนกลางของแปซิฟกเขตศูนยสูตร โดยจะปรากฏตามชายฝง

               ประเทศเอกวาดอร และเปรูเหนือ (บางครั้งประเทศชิลี) การเวียนเกิดซ้ําของปรากฏการเอลนีโญแตชวงเวลาไม
               สม่ําเสมอ ซึ่งการเกิดขึ้นแตละครั้งนาน 12 – 18 เดือน (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2546ก)
                           2)  การเกิดปรากฏการณเอลนีโญ
                                ในสภาวะปกติหรือในสภาวะที่ไมไดเกิดเอลนีโญ ลมสินคาตะวันออกเฉียงใตที่พัดปกคลุม

               เหนือมหาสมุทรแปซิฟกเขตรอนในซีกโลกใต  จะพัดพาน้ําอุนจากทางตะวันออกมหาสมุทรไปสะสมอยูทาง
               ตะวันตก (ดานเอเชีย ออสเตรเลียและอินโดนีเซีย) บริเวณตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกเขตรอนจึงมีอุณภูมิ
               สูง ซึ่งมีผลตอบรรยากาศเหนือบริเวณดังกลาว โดยทําใหมีการกลั่นตัวเปนเมฆและฝนมากขึ้น สวนทางแปซิฟก
               ตะวันออก (ประเทศเอกวาดอร ชิลีและเปรู) จะมีการไหลขึ้นของน้ําเย็นระดับลางไปสูผิวน้ํา(Upwelling)ทําให

               อุณหภูมิผิวน้ําต่ํา และสงผลใหบริเวณแปซิฟกตะวันออก เกิดความแหงแลง
                                สําหรับในชวงเกิดปรากฎการณเอลนิโญ  ซึ่งเปนปรากฏการณการเปลี่ยนแปลงการ
               เคลื่อนที่ของกระแสน้ําอุนฝงตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟก  (ตามแนวชายฝงตะวันตกของทวีปอเมริกาใต)

               ทําใหนําทะเลบริเวณตอนกลางและชายฝงดานตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟกอุนขึ้นผิดปกติ  ซึ่งเกิดจาก
               ความแตกตางของความกดอากาศในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟกฝงตะวันตก  (ประเทศอินโดนีเซีย  มาเลเซีย
               บรูไนและออสเตรเลีย) กับความกดอากาศในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟกฝงตะวันออก (ประเทศเอกวาดอร เปรู
               และชิลี)  ซึ่งปกติแลวความกดอากาศฝงตะวันออกจะสูงกวาฝงตะวันตก  แตในปที่เกิดปรากฏการณเอลนีโญ
               ความกดอากาศฝงตะวันตกจะสูงกวาฝงตะวันออก เนื่องจากการออนกาลังของลมสินคาทําใหเกิดคลื่นใตน้ําพัด

               พาเอามวลน้ําอุนที่สะสมในฝงตะวันตกเขาไปแทนที่น้ําเย็นในฝงตะวันออก  ทําใหผิวน้ําบริเวณแปซิฟก
               ตะวันออกอุนขึ้น จึงเกิดเปนบริเวณความกดอากาศต่ํา สงผลใหมีปริมาณฝนตกเพิ่มมากขึ้น ขณะที่แปซิฟกฝง
               ตะวันตก เกิดความแหงแลง (ภาพที่ 8)

















                            สภาวะปกติ                                   สภาวะเอลนีโญ
               ภาพที่ 8  สภาวะปกติ และสภาวะเอลนีโญ
               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546ก)
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64