Page 60 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 60

51



                         3) ผลกระทบจากปรากฏการณเอลนีโญ
                           ผลกระทบของปรากฏการณเอลนีโญ ในชวงที่เกิดปรากฏการณเอลนีโญ การกอตัวของเมฆและ

               ฝนเหนือนานน้ําบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใตจะลดลง และจะขยับไปทางตะวันออก ทําใหบริเวณตอนกลาง
               และตะวันออกของแปซิฟกเขตศูนยสูตร  รวมทั้งประเทศเปรูและเอกวาดอรมีปริมาณฝนมากกวาคาเฉลี่ย
               ขณะที่มีความแหงแลงเกิดขึ้นที่นิวกินีและอินโดนีเซีย อีกทั้งบริเวณเขตรอนของออสเตรเลียพื้นที่ทางตอนเหนือ
               มักจะเริ่มฤดูฝนลาชา นอกจากพื้นที่บริเวณเขตรอนแลวปรากฏการณเอลนีโญยังมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกับ

               ความผิดปกติของภูมิอากาศในพื้นที่ซึ่งอยูหางไกลดวย  เชน  ความแหงแลงทางตอนใตของแอฟริกา  จาก
               การศึกษาปรากฏการณเอลนีโญที่เคยเกิดขึ้นในอดีตพบวาในฤดูหนาวและฤดูรอนของซีกโลกเหนือ  ระหวาง
               เดือนธันวาคม – กุมภาพันธ และ เดือนมิถุนายน – สิงหาคม รูปแบบของฝนและอุณหภูมิหลายพื้นที่ผิดไปจาก
               ปกติ เชน ในฤดูหนาวบริเวณตะวันออกเฉียงใตของแอฟริกาและตอนเหนือของประเทศบราซิลแหงแลงผิดปกติ

               ขณะที่ทางตะวันตกของแคนาดา  อลาสกา  และตอนบนสุดของอเมริกามีอุณหภูมิสูงผิดปกติ  สวนบางพื้นที่
               บริเวณกึ่งเขตรอนของอเมริกาเหนือ และอเมริกาใตบริเวณบราซิลตอนใตถึงตอนกลางของอารเจนตินา มีฝน
               มากผิดปกติ (ภาพที่ 9)
                           นอกจากปรากฏการณเอลนีโญจะมีผลกระทบตอรูปแบบของฝนและอุณหภูมิแลวยังมีอิทธิพลตอการ

               เกิดและการเคลื่อนตัวของพายุหมุนเขตรอนอีกดวย โดยปรากฏการณเอลนีโญจะไมเอื้ออํานวยตอการกอตัวและการ
               พัฒนาของพายุหมุนเขตรอนในมหาสมุทรแอตแลนติก จึงทําใหพายุหมุนเขตรอนในบริเวณดังกลาวลดลง ในขณะที่
               บริเวณดานตะวันตกของประเทศเม็กซิโกและสหรัฐอเมริกาจะมีพายุพัดผานมากขึ้น สวนพายุหมุนเขตรอนใน

               มหาสมุทรแปซิฟกเหนือดานตะวันตกที่มีการกอตัวทางดานตะวันออกของประเทศฟลิปปนสมักมีเสนทางเดินของ
               พายุขึ้นไปทางเหนือมากกวาที่จะเคลื่อนตัวมาทางตะวันตกผานประเทศฟลิปปนสลงสูทะเลจีนใต





































               ภาพที่ 9 รูปแบบของฝนและอุณหภูมิที่ผิดปกติในปเอลนีโญ

               ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2546ก)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65