Page 63 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 63

54



               ประเทศไทยมีโอกาสเปนไปไดทั้งสูงกวาปกติและต่ํากวาปกติหรืออาจกลาวไดวาชวงกลางและปลายฤดูฝนเปน
               ระยะที่ปรากฏการณเอลนีโญมีผลกระทบตอปริมาณฝนของประเทศไทยไมชัดเจน

                           จากผลการศึกษาพอสรุปไดกวาง ๆ วาหากเกิดปรากฏการณเอลนีโญ ปริมาณฝนของประเทศ
               ไทยมีแนวโนมวาจะต่ํากวาปกติ โดยเฉพาะฤดูรอนและตนฤดูฝน ในขณะที่อุณหภูมิของอากาศจะสูงกวาปกติ
               เฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่ปรากฏการณเอลนีโญมีขนาดรุนแรง ผลกระทบดังกลาวจะชัดเจนมากขึ้น
                           ในปที่เกิดปรากฏการณลานีญาปริมาณฝนของประเทศไทยสวนใหญสูงกวาปกติ โดยเฉพาะชวง

               ฤดูรอนและตนฤดูฝนเปนระยะที่ปรากฏการณลานีญามีผลกระทบตอสภาวะฝนของประเทศไทยชัดเจนกวา
               ชวงอื่น และพบวาในชวงกลางและปลายฤดูฝนปรากฏการณลานีญามีผลกระทบตอสภาวะฝนของประเทศไทย
               ไมชัดเจน สําหรับอุณหภูมิปรากฏวาปรากฏการณลานีญามีผลกระทบตออุณหภูมิในประเทศไทยชัดเจนกวาฝน
               โดยทุกภาคของประเทศไทยมีอุณหภูมิต่ํากวาปกติทุกฤดู และพบวาปรากฏการณลานีญาที่มีขนาดปานกลางถึง

               รุนแรงสงผลใหปริมาณฝนของประเทศไทยสูงกวาปกติมากขึ้น ขณะที่อุณหภูมิต่ํากวาปกติมากขึ้น
               3.3  การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับความแหงแลง
                     จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อหากรอบแนวคิดและมุมมองเกี่ยวกับการคาดการณภัยแลง
               พบวา มีงานวิจัยดังนี้

                     3.3.1  งานวิจัยเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอความแหงแลง
                           ฐิตวดี (2546) ไดศึกษาปจจัยคุณลักษณะของพื้นที่ที่มีอิทธิพลตอการเกิดพื้นที่แหงแลง ในเขต
               จังหวัดเพชรบุรี  โดยใช  การวิเคราะหสมการถดถอยพหุแบบขั้นตอน  (Stepwise Multiple Regression

               Analysis) ที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 95 (P<0.05) และทําการศึกษาประเมินศักยภาพของพื้นที่ในการเกิด
               พื้นที่แหงแลง  และพื้นที่ที่เสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลงโดยการประยุกตใชระบบสาระสนเทศภูมิศาสตร  ผล
               การศึกษาความสัมพันธของปจจัยคุณลักษณะของพื้นที่ กับการเกิดพื้นที่แหงแลง พบวาปจจัยที่มี อิทธิพลตอ
               การเกิดพื้นที่แหงแลง มี 2 ปจจัย คือความลาดชันของพื้นที่และลักษณะการระบายน้ําของดิน โดยมี สมการ
               พยากรณการเกิดพื้นที่แหงแลงดังนี้ Y = 0.946 + 0.0147 (X2) + 0.327 (X6) และ Y = 1.196 + 0.01562

               (X2) + 0.204(X6) สําหรับปจจัย ปริมาณความชื้นในดิน, องศาของทิศดานลาด ของพื้นที่, ปริมาณการใชน้ํา
               ของพืช และปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายเดือน พบวา  ไมมีความสัมพันธกับการเกิดพื้นที่แหงแลงของพื้นที่อยางมี
               นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  รอยละ  95  และจากการศึกษาพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเกิดพื้นที่แหง

               แลง และพื้นที่ที่เสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลง พบวา พื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเกิดพื้นที่แหง
               แลงชื้นปานกลาง  และมีความเสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลงต่ํา  และ พบวาในบริเวณ  ตําบลแกงกระจาน
               อําเภอแกงกระจาน มีศักยภาพในการเกิดพื้นที่แหงแลงมากและมีความเสี่ยงตอการเกิดพื้นที่แหงแลงสูงเพียง
               เล็กนอย

                           นิทัศน (2549) ไดศึกษาคําจํากัดความและเกณฑการกําหนดภัยแลงในประเทศไทยบริเวณพื้นที่
               ลุมน้ํายม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหาตัวบงชี้ภัยแลง และมีการตั้งสมมุติฐานวาสวนใหญภัยแลงเกิดจากการที่มี
               ฝนตกนอยกวาเกณฑปกติ และ ทําใหเกิดปริมาณการไหลนอยกวาปกติ ซึ่งตัวบงชี้ภัยแลงในเชิงอุทกวิทยาและ
               อุตุนิยมวิทยานี้ สามารถนําไปใชประโยชนในการเตือนภัยแลง เพื่อเตรียมตัวปองกันและบรรเทาภัยแลงได จาก

               การศึกษาพบวาปริมาณน้ําฝนและปริมาณน้ําทาสามารถใชเปนตัวบงชี้วาเกิดภัยแลงไดโดยมีความถูกตอง
               รอยละ 69 และรอยละ 68 ตามลําดับ
                     3.3.2  งานวิจัยเกี่ยวกับการหาพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลง
                           ชาญชัย  และคณะ  (2545)  ไดกําหนดบริเวณพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดความแหงแลงในลุมน้ํา

               ทะเลสาบสงขลา  โดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรและเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกล  ปจจัยที่กําหนดคือ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68