Page 67 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 67

58



               รอบ 40 ปที่ผานมา ลุมน้ํายมมีแนวโนมของฝนรายปลดลง 1-14 มิลลิเมตรตอป และปริมาณน้ําทาในฤดูแลง
               ลดลงตามลําดับ เนื่องจากมีการใชน้ําเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

                           Chenglin  et al. (2004)  ติดตามสภาวะการเกิดภัยแลง  โดยใชขอมูล  normalized
               difference vegetative index  (NDVI)  หาความสัมพันธคาความชื้นของพืชพรรณ  และ  normalized
               difference water index (NDWI) วัดปริมาณน้ําในดิน บริเวณพื้นที่เกษตร ทางภาคเหนือของประเทศจีน ซึ่ง
               สามารถติดตามสภาวะความแหงแลงดังกลาว ไดอยางถูกตองแมนยําและทันตอสถานการณภัยแลง

                           วรนุช (2551) ไดศึกษาเรื่องการประเมินความแหงแลงของลุมน้ําปาสัก ดวยดัชนีความแหงแลง
               จากขอมูลอุตุอุทกวิทยา และเทคนิคการสํารวจระยะไกล โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินความแหงแลงในลุม
               น้ําปาสักดวยดัชนีปริมาณน้ําฝน (Standardized Precipitation Index : SPI) ดัชนีน้ําใตดิน (Standardized
               Water Level :  SWI) และเทคนิคการสํารวจระยะไกล ดวยดัชนีความสมบูรณของพืชพรรณ (Vegetative

               Health Index : VHI ) ซึ่งเปนคาความสัมพันธระหวางดัชนีสภาพพืชพรรณ (Vegetative Condition Index :
               VCI) กับดัชนีสภาพอุณหภูมิ (Temperature Condition Index : TCI) จากการวิเคราะหขอมูลภาพถายจาก
               ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา NOAA ระบบ AVHRR และ การจัดทําแผนที่ความรุนแรงของความแหงแลงดวยระบบ
               สารสนเทศภูมิศาสตร ตลอดจนการศึกษาวิเคราะหความสัมพันธระหวางพื้นที่ประสบความแหงแลงกับประเภท

               การใชที่ดินดวยการแปลและตีความจากภาพถายดาวเทียม Landsat-5TM  และประเมินความถูกตองของ
               วิธีการดังกลาวดวยการเปรียบเทียบผลการประเมินกับรายงานพื้นที่ประสบภัยแลงของกรมปองกันและบรรเทา
               สาธารณภัย พบวาการประเมินความแหงแลงดวยดัชนี SPI โดยอาศัยขอมูลอุตุนิยมวิทยาชวงป พ.ศ. 2547 ถึง

               พ.ศ. 2549 ชวงเวลาของการเกิดภัยแลงเริ่มตั้งแตเดือนตุลาคมถึงเมษายน โดยมีคาความถูกตองรอยละ 99.43
               ในป พ.ศ. 2548  และรอยละ 87.16  ในป พ.ศ. 2549  ในขณะที่การประเมินดวยดัชนี SWI  พบวาไมมีความ
               เหมาะสมตอกรณีของพื้นที่ลุมน้ําปาสัก เนื่องจากสถานีตรวจวัดระดับน้ําใตดินมีจํานวนนอย และไมกระจาย
               ครอบคลุมพื้นที่ศึกษา สําหรับการประเมินความแหงแลงดวยดัชนี VHI ไดผลวามีชวงระยะเวลาของการเกิดภัย
               แลงสองชวง คือ ชวงเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม และเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม โดยมีคาความถูกตองรอย

               ละ 90.96  ในปพ.ศ.2548  และรอยละ 52.39  ในปพ.ศ. 2549  โดยเมื่อนําพื้นที่ประสบภัยแลงที่ไดจากการ
               วิเคราะหดัชนี VHI ของเดือนพฤศจิกายน อันเปนเดือนที่มีระดับความแหงแลงมากที่สุดซอนทับกับขอมูลการ
               ใชประโยชนที่ดิน พบวา พื้นที่ที่มีโอกาสประสบภัยแลงครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม ไรราง พื้นที่ปาไม สวนปา

               และพื้นที่ชุมชน จากมากไปนอยตามลําดับ จากการศึกษาสามารถกลาวไดวาการประเมินความแหงแลงดวย
               เทคนิคการสํารวจระยะไกล เปนวิธีหนึ่งที่สามารถระบุระดับความรุนแรงของความแหงแลงไดอยางรวดเร็ว
               ถูกตอง ในระดับเทียบเคียงไดกับการประเมินดวยดัชนี SPI แลเหมาะสมตอการนําไปใชประกอบการพิจารณา
               วางแผนปองกัน และบรรเทาแกไขปญหาภัยแลงไดทันตอเหตุการณ สวนวิธี SWI นั้นไมเหมาะสมตอกรณีนี้
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72