Page 53 - คาดการณ์พื้นที่เกษตรเสี่ยงภัยแล้งปี2558
P. 53

44



                                                         บทที่ 3

                                                    การตรวจเอกสาร


               3.1  ความแหงแลง
                     3.1.1  ความหมายของความแหงแลง
                           ความแหงแลงเปนเหตุการณทางธรรมชาติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

               สาเหตุของความแหงแลงมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลก ซึ่งอาจจะเปนผลจากการลดลงของพื้นที่ปา
               ไม การพัฒนาดานอุตสาหกรรมทําใหกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้น สงผลกระทบตอปริมาณฝน (คณะกรรมาธิการ
               เกษตรและสหกรณวุฒิสภา, 2549) ความแหงแลงตามฤดูกาลเปนเหตุการณธรรมชาติที่เกิดขึ้นทุกป สามารถ
               เกิดไดทุกสภาพภูมิอากาศและทุกพื้นที่  แตมีลักษณะที่แตกตางกันไปแตละพื้นที่  ความแหงแลงที่เกิดขึ้น มี

               สาเหตุมาจากความผิดปกติของปริมาณฝนที่มีปริมาณนอย ไมเพียงพอ  และจากการที่ฝนทิ้งชวงเปนระยะ
               เวลานาน  ทําใหเกิดความไมสมดุลทางอุทกวิทยา  ความรุนแรงของความแหงแลงขึ้นอยูกับปริมาณน้ําฝน
               ชวงเวลาของฝนแลง และ ฝนทิ้งชวง โดยปกติปริมาณน้ําฝนในแตละปไมมีความแตกตางกันมาก แตเนื่องจาก
               ความตองการมีความแตกตางกัน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร ทําใหเกิดการขยายตัวของที่ดินทํากิน ที่

               อยูอาศัย  รวมถึงการพัฒนาดานตาง  ๆ  ทั้งการเกษตร  อุตสาหกรรม  ทําใหเกิดกิจกรรมตาง  ๆ  เพิ่มมากขึ้น
               ดังนั้นความตองการน้ําจึงมีปริมาณเพิ่มขึ้นตามไปดวย และการเก็บน้ําที่มีปริมาณเทาเดิม หากในปใดมีปริมาณ
               ฝนตกนอยกวาความตองการก็จะเกิดการขาดแคลนน้ํา และ หากฝนทิ้งชวงเปนระยะเวลานานก็จะยิ่งทําใหเกิด
               ความแหงแลงมากขึ้น

                           ความแหงแลง มีการใหนิยามศัพทแตกตางกันไปดังนี้ กรมอุตุนิยมวิทยา (2557ค) ไดนิยาม
               ความหมายของภัยแลง คือภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ําในพื้นที่หนึ่งเปนเวลานาน จนกอใหเกิดความแหงแลง
               และสงผลกระทบตอชุมชน เกษม (2551)  กลาววา ความแหงแลง คือ ปรากฏการณที่ขาดน้ําอันเนื่องมาจาก

               ชวงการขาดฝนเปนระยะเวลานานจนทําใหไมมีน้ําใชอยางพอเพียง สําหรับมหาวิทยาลัยขอนแกน (2543) ได
               ใหความหมายของภัยแลงสอดคลองกับเกษม (2551) ในแงของการขาดฝนโดยใหความหมายของภัยแลงไววา
               เปนภัยธรรมชาติหรือปรากฏการณที่เกิดในชวงเวลาซึ่งอากาศแหงผิดปกติหรือขาดฝน ทําใหเกิดจากการขาด
               แคลนน้ําใช และถามีความรุนแรงอาจทําใหพืชผลตลอดจนสิ่งมีชีวิตตาง ๆ เสียหาย ความรุนแรงของความแหง
               แลงมีความสัมพันธสอดคลองกับสภาวะฝนแลงหรือความแหงแลงของลมฟาอากาศ ซึ่งเกิดจากการมีฝนตก

               นอยกวาปกติ หรือฝนไมตกตามฤดูกาล ในขณะที่จิราพร (2549) กลาววาภัยแลงเปนภัยพิบัติตามธรรมชาติที่
               เกิดจากการมีน้ําไมเพียงพอ สงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตและตอระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งพืชและสัตว การ
               เกิดภัยแลงไมมีการบอกหรือแจงลวงหนาหรือการพยากรณไดวาจะเกิดขึ้นเมื่อใด

                           จากการตรวจเอกสารสามารถสรุปไดวาความแหงแลงขึ้นอยูกับปจจัยตางๆที่ผูคนสนใจ โดยรวม
               แลวความแหงแลง หมายถึง สภาพพื้นที่ที่มีการขาดน้ําจากการที่ฝนทิ้งชวงเปนระยะเวลานานหรือ ฝนไมตก
               ตามฤดูกาล เปนพื้นที่ที่อยูหางจากแหลงน้ํา หรือ ไมมีแหลงน้ําเพียงพอ ทําใหพื้นดิน ใตพื้นดิน ขาดความชุมชื้น
               ประกอบกับดินมีความสามารถระบายน้ําไดดี ความแหงแลงสามารถเกิดขึ้นไดทุกฤดูกาล ทุกสภาพพื้นที่ และ

               อาจคงอยูไดอยางไมจํากัดเวลา  ความแหงแลงอาจสงผลกระทบตอชนกลุมนอย หรือ อาจถึงขั้นสรางความ
               เสียหายแกประชาชนทั้งประเทศ  รวมทั้งกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม  และการดํารงชีวิต
               ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58