Page 61 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 61

52



                                3) จังหวัดสุรินทร์ จะมีลักษณะการเกิดน้ำท่วมขังในบริเวณตัวเมือง จากปริมาณน้ำฝนที่ตก
                     ในพื้นที่แต่เนื่องจากตัวเมืองอยู่ใกล้ลำน้ำสาขา จึงทำให้โอกาสที่จะเกิดน้ำท่วมรุนแรงจึงมีไม่มาก
                                                           ่
                                                                                                     ี
                                4) จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องจากอางเก็บน้ำบริเวณห้วยสำราญมีความจุเก็บกักไม่เพยงพอ
                     ตัวเมืองมีลำน้ำสาขาไหลผ่าน มีความรุนแรงในระดับปานกลาง โอกาสที่จะเกิดน้ำท่วมรุนแรงจึงมีไม่มาก
                                          ุ
                                5) จังหวัดอบลราชธานี เกิดน้ำท่วมบ่อยครั้งบริเวณริมฝั่งแม่น้ำมูล ในอำเภอเมือง และ
                     อำเภอวารินชำราบซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณที่ได้รับอทธิพลทั้งจากแม่น้ำชีและแม่น้ำมูล นอกจากนี้ ยังได้รับ
                                                            ิ
                                            ่
                     ผลกระทบจากสภาพเกาะแกงธรรมชาติในลำน้ำมูลบริเวณท้ายอำเภอพิบูลมังสาหาร ซึ่งกีดขวางการไหล
                     ของน้ำ


                           3.7.3 ลุ่มน้ำชี
                                             ุ
                                สภาพการเกิดอทกภัยในลุ่มน้ำชี โดยส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นปีละ 2-3 ครั้ง ในหลายรูปแบบ
                     ได้แก่ น้ำท่วมขังน้ำไหลล้นตลิ่ง น้าป่าไหลหลาก และดิน/โคลนถล่ม โดยพนที่ที่ประสบอทกภัยประเภท
                                                                                  ื้
                                                                                             ุ
                     น้ำท่วมขัง ได้แก่ จังหวัดร้อยเอด จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น ประเภทน้ำป่าไหลหลาก ได้แก่
                                               ็
                     จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดร้อยเอ็ด ประเภทน้ำล้นตลิ่ง ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดกาฬสินธุ์
                                                            ุ
                                                                           ื้
                     จังหวัดขอนแก่น จังหวัดร้อยเอด และจังหวัดอบลราชธานี ส่วนพนที่ที่ประสบภัยดินโคลนถล่ม ได้แก่
                                               ็
                     จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดชัยภูมิ โดยสามารถสรุปลักษณะการเกิดอทกภัยของแต่ละจังหวัดในลุ่มน้ำชีได้
                                                                             ุ
                     ดังนี้
                                1) จังหวัดชัยภูมิ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาไม่สูงชันมาก เนื่องจากการยกตัว
                                                                               ่
                     ของที่ราบสูงโคราช ทำให้เกิดภูเขายอดราบกระจายอยู่ทั่วไปตามขอบแองสะสมตะกอนโคราชที่เป็นต้นน้ำ
                     ของลำน้ำชี จากพนที่ภูเขาสภาพภูมิประเทศลาดลงสู่บริเวณเชิงเขาซึ่งมีลักษณะลาดเอยงไม่มากจนถึง
                                    ื้
                                                                                             ี
                            ื้
                     บริเวณพนที่ลอนลาดซึ่งกระจายอยู่ทั่วไปเกือบทั้งลุ่มน้ำชีจนถึงบริเวณที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึงของลำน้ำชี
                     รวมทั้งลำน้ำสาขาสำคัญ ๆ ของลำน้ำชี ได้แก่ น้ำพรม ลำสะพง ลำเชียงทา ลำคันฉู พจารณาจาก
                                                                                                ิ
                                                                           ุ
                     ลักษณะภูมิประเทศดังกล่าว มีผลทำให้ช่วงเวลาการเคลื่อนที่ของปริมาณน้ำหลากที่เกิดจากฝนตกหนัก
                     บนภูเขาใกล้เคียงกับช่วงเวลาของการเคลื่อนที่ของปริมาณน้ำหลากลงมาจากพนที่ลอนลาดลงสู่ลำน้ำ
                                                                                       ื้
                     สายหลัก ในสภาพเช่นนี้ก่อให้เกิดสภาพน้ำล้นฝั่งและท่วมที่ราบน้ำท่วมถึง เมื่อมีปริมาณฝนตกเพยง 40
                                                                                                    ี
                     ถึง 60 มิลลิเมตรเท่านั้น ตัวเมืองชัยภูมิตั้งอยู่ริมแม่น้ำชี หลังจุดบรรจบของลำน้ำสาขาหลักคือ ลำสะพง
                                                                                                         ุ
                     ลำเชียงทา และลำคันฉู ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาขนาดใหญ่ทางต้นน้ำ ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมบริเวณตัวเมือง
                     ชัยภูมิ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นลักษณะน้ำป่าไหลหลาก และน้ำล้นตลิ่ง ส่วนปัญหาน้ำท่วมขังในตัวเมืองชัยภูมิ
                     ไม่รุนแรงมากนัก ลักษณะการเกิดอทกภัยจะเป็นลักษณะเดียวกับอำเภออนๆ ที่อยู่ทางด้านต้นน้ำของ
                                                  ุ
                                                                                   ื่
                     อำเภอเมืองชัยภูมิ เช่น อำเภอเทพสถิตย์ อำเภอบำเหน็จณรงค์ อำเภอจัตุรัส เป็นต้น ส่วนอำเภอที่อยู่
                     ทางด้านท้ายน้ำของจังหวัดชัยภูมิ จะเริ่มประสบปัญหาน้ำท่วมขังมากขึ้น เช่น อำเภอคอนสวรรค์ เป็นต้น
                                2) จังหวัดขอนแก่น มีลำน้ำสาขาหลัก ได้แก่ ลำน้ำพอง ลำน้ำเชิญ และแม่น้ำชี ตัวเมืองขอนแก่น

                                                                                           ื้
                     ตั้งอยู่ระหว่างจุดบรรจบของลำน้ำพอง (ท้ายเขื่อนอบลรัตน์) กับแม่น้ำชีสายหลัก พนที่บนฝั่งซ้ายของ
                                                                ุ
                     ลำน้ำชี ริมตลิ่งจะต่ำกว่าด้านใน โดยมีความลาดเทน้อยจากตลิ่งเข้าสู่ด้านในถ้าน้ำล้นคันกั้นน้ำริมตลิ่ง
                                                                                             ื้
                     หรือถ้าน้ำในลำน้ำชีมีระดับสูงขึ้นจะทำให้น้ำระบายลงสู่ลำน้ำชีได้ยาก และเข้าท่วมพนที่ด้านในเป็น
                     ระยะทางไกล ๆ แต่เนื่องจากลำน้ำพองมีเขื่อนอุบลรัตน์เป็นเขื่อนเก็บกักน้ำขนาดใหญ่กั้นอยู่ จึงสามารถ

                     บรรเทาปัญหาปริมาณน้ำหลากลงไปได้มาก แต่ก็ยังมีลำน้ำสาขาอกหลายสายที่อยู่ท้ายเขื่อนที่นำน้ำมาสู่
                                                                           ี
                                                  ่
                     ลำน้ำพองและเข้าสู่ ตัวเมืองขอนแกน ส่วนทางลำน้ำชีสายหลักซึ่งรับน้ำต่อมาจากจังหวัดชัยภูมิจะทำให้
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66