Page 64 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 64

55



                     3.9  แนวทางการจัดการพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก

                           การป้องกันและจัดการกับปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี จำเป็นต้องมีการกำหนดมาตรการ
                              ึ่
                     ที่ชัดเจน ซงในอดีตที่ผ่านมาการบริการจัดการน้ำของประเทศไทยดำเนินการในเชิงตั้งรับ กล่าวคือการใช้
                                                                                       ิ
                                                                   ู
                                                                ื้
                     แนวคิด โดยเน้นไปที่การช่วยเหลือ บรรเทา และฟนฟบูรณะ ขณะที่เกิดภัยพบัติ และภายหลังเกิด
                                                                            ิ่
                         ิ
                                                      ิ
                     ภัยพบัติ แต่ในปัจจุบันการเกิดภัยพบัติมีแนวโน้มรุนแรงเพมมากขึ้น การบริหารจัดการภัย
                                                             ื่
                     จึงต้องปรับเปลี่ยนให้เกิดการปฏิบัติในเชิงรุก เพอให้สามารถเตรียมความพร้อมรับมือภัยที่จะเกิดขึ้นได้
                     อย่างทันท่วงที โดยตั้งเป้าหมายในการลดความรุนแรง และลดผลกระทบจากภัยพิบัติให้มากที่สุด
                     ซึ่งจะเน้นการป้องกันทั้งมาตรการที่ใช้สิ่งก่อสร้าง และมาตรการที่ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง มีการเตรียมความพร้อม
                     ทั้งในส่วนภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนอย่างเข้มแขง และต่อเนื่อง เพอให้พนที่ได้รับผลกระทบ
                                                                                     ื่
                                                                                          ื้
                                                                       ็
                     จากภัยพิบัติน้อยที่สุด สามารถดำเนินการได้หลายวิธี ได้แก่
                                                 ่
                           3.9.1  การสร้างเขื่อนหรืออางเก็บน้ำขนาดกลางเก็บน้ำไว้ทางต้นน้ำ เพอเก็บกักปริมาณน้ำหลากไว้
                                                                                   ื่
                     ซึ่งนอกจากจะช่วยป้องกันอุทกภัยแล้ว ยังสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในฤดูแล้งได้อีกด้วย
                           3.9.2  การสร้างคันกั้นน้ำ เพ่อป้องกันพ้นที่ชุมชน หรือพนที่ซึ่งมีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูง วิธีนี้
                                                                         ื้
                                                  ื
                                                           ื
                                           ื้
                     แม้จะช่วยป้องกันน้ำท่วมพนที่เป้าหมายได้ แต่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อพนที่อนๆ ซึ่งต้องรับปริมาณน้ำ
                                                                                     ื่
                                                                                 ื้
                     มากกว่าเดิม และทำให้ระดับน้ำในลำน้ำสูงขึ้นกว่าเดิมด้วย
                           3.9.3  การระบายน้ำเข้าไปเก็บกักในพื้นที่ลุ่มต่ำ วิธีนี้จะคล้ายกับสภาพธรรมชาติที่เมื่อเกิดน้ำท่วมขน
                                                                                                        ึ้
                                                                      ื
                                                                               ื
                     น้ำจะไหลแผ่กระจายเข้าสู่ที่ลุ่มต่าง ๆ หากสามารถหาพ้นที่ลุ่ม เพ่อช่วยแบ่งน้ำออกไปจะช่วยลด
                     ปริมาณน้ำหลากในลำน้ำได้มาก ทำให้บรรเทาปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ท้ายน้ำได้
                                                       ื่
                           3.9.4  การปรับปรุงสภาพลำน้ำเพอช่วยให้น้ำสามารถไหลตามลำน้ำได้สะดวก หรือให้กระแสน้ำ
                     ที่ไหลมีความเร็วเพมขึ้น เพอที่ในฤดูน้ำหลากน้ำจำนวนมากที่ไหลตามลำน้ำจะได้มีระดับลดต่ำลงไปจากเดิม
                                    ิ่
                                           ื่
                     เป็นการช่วยบรรเทาความเสียหาย เนื่องจากน้ำท่วมได้เป็นอย่างดี
                           3.9.5  เพมทางผันน้ำออกสู่ทะเลให้มากขึ้น ได้แก่ การเพมทางระบายน้ำลงสู่ทะเลทั้งโดยการใช้
                                                                         ิ่
                                  ิ่
                     ระบบคลองระบายที่มีอยู่ หรือการขุดคลองขนาดใหญ่ขึ้นมา เพื่อให้มีความสามารถระบายน้ำได้มากขึ้น

                           3.9.6  การสูบน้ำออกจากพนที่ เพอช่วยเพมปริมาณน้ำที่ไหลออกสู่ทะเลให้มากขึ้น รวมทั้งการ
                                                 ื้
                                                              ิ่
                                                       ื่
                     เพิ่มความเร็วแรงน้ำโดยการติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ
                           3.9.7 การสร้างแหล่งเก็บกักน้ำ และระบายน้ำออกให้สอดคล้องกับการขึ้นลงของน้ำทะเลหรือ
                                                                                                ื่
                     การดำเนินการตามโครงการแก้มลิง การสร้างประตูระบายปิดกั้นน้ำทะเลบริเวณปากแม่น้ำ เพอลดอทธิพล
                                                                                                    ิ
                     ของน้ำทะเลหนุน
                           3.9.9 การพจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมโดยใช้มาตรการทางผังเมืองร่วม และการใช้
                                     ิ
                     ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ให้สอดคล้องกับโครงการป้องกันน้ำท่วมที่หน่วยงานต่าง ๆ จะได้ดำเนินการ

                     จัดทำแผนบูรณาการระยะยาวต่อไป

                           3.9.10  การพยากรณ์และการเตือนภัยน้ำท่วมทั้งก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และภายหลังการเกิดภัย
                     ทั้งนี้ต้องติดตั้งระบบ Real Time Operation เพื่อติดตามและประเมินสถานการณ์ ณ เวลาจริง รวมทั้ง
                     ใช้ระบบ GIS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอยดสูงมาช่วยในการแสดงขอบเขตและระดับความลึก
                                                               ี
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69