Page 65 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 65

56



                          ื้
                     ของพนที่น้ำท่วม รวมทั้งติดตั้งระบบสื่อสารจาก Operating room ของลุ่มน้ำใหญ่ไปลุ่มน้ำย่อย
                     เพื่อกระจายข่าวที่ทันเหตุการณ์ และติดตั้งเครื่องรับวิทยุประจำหมู่บ้านเพื่อรับฟังข่าวในสภาวะเตือนภัย
                     และฉุกเฉิน

                           3.9.11  การปรับตัวในการเพาะปลูกข้าวโดยเน้นข้าวนาปรังเป็นหลักทำให้สามารถทำการเพาะปลูกได้
                     2 ครั้งต่อปี ทั้งนี้การปลูกข้าวครั้งที่ 1 จะเริ่มหลังจากที่ปริมาณน้ำลดลงตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน/ธันวาคม

                     จนถึงเดือนมีนาคม/เมษายน หลังจากนั้นจะทำนาครั้งที่ 2 ทันที เป็นต้น

                           3.9.12  การปรับเปลี่ยนพื้นที่วิฤตน้ำท่วมซ้ำซากให้เป็นพื้นที่พฒนาเพอกิจกรรมการใช้ประโยชน์
                                                                                    ื่
                                                                              ั
                                                                           ั
                     เฉพาะอย่าง โดยเฉพาะพนที่การเกษตรที่ประสบปัญหาดังกล่าวอาจพฒนาเป็นพนที่ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
                                                                                    ื้
                                        ื้
                                          ั
                     ทั้งนี้ภาครัฐจะต้องเข้าไปพฒนาระบบ ส่งเสริมและให้องค์ความรู้ในกิจกรรมใหม่ ๆ ตลอดจนให้ประชาชน
                     หรือองค์กรในท้องถิ่นมีส่วนร่วมบริหารจัดการทรัพยากรด้วย
                                                                                        ื่
                           3.9.13  การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพนที่ต้นน้ำ ซึ่งเป็นพนที่สูงเพอชะลอและเก็บกักน้ำ
                                                                 ื้
                                                                                 ื้
                     ลงในดิน ช่วยลดและบรรเทาการไหลบ่าของน้ำให้เกิดการไหลในปริมาณที่พอเหมาะจึงช่วยลดปริมาณน้ำ
                                                                                                     ื
                     สะสมในที่ลุ่มหรือที่ต่ำได้ นอกจากนั้นยังเป็นการเก็บกักน้ำไว้ในฤดูแล้ง และสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พชและ
                     พื้นที่ตอนบนอีกด้วย

                     3.10 แนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก

                                  ื้
                           3.10.1 พนที่น้ำท่วมซ้ำซากครั้งคราวโดยประสบน้ำท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี และมีความเสี่ยงสูง
                                 ั
                                                                                    ื
                     ต่อการลงทุนพฒนาทางการเกษตรเนื่องจากพนที่มีสภาพเป็นที่ราบเรียบถึงเกอบราบเรียบ มีน้ำท่วมขัง
                                                           ื้
                                                                     ื้
                     ประมาณ 5 - 10 วันในรอบปี ดังนั้นมาตรการในการจัดการพนที่ดังกล่าวจึงควรมีการศึกษาการเกิดน้ำท่วม
                     ช่วงของการเกิดน้ำท่วม และปริมาณการเกิดน้ำท่วมในแต่ละครั้ง เพอกำหนดรูปแบบ เลี่ยงการปลูกข้าวใน
                                                                           ื่
                     เดือนที่จะเกิดน้ำท่วม ช่วงการเพาะปลูก และระบบการเพาะปลูกพชต้องเหมาะสมกับสภาพพนที่ และ
                                                                             ื
                                                                                                   ื้
                     ช่วงเวลาการเกิดน้ำท่วม เพอลดความเสียหายที่จะเกดขึ้น (สุชาติ และ เกษร, 2548) เช่น การเปลี่ยนมา
                                                                ิ
                                           ื่
                        ั
                                                     ั
                                                                                            ั
                     ใช้พนธุ์ข้าวที่ทนต่อน้ำท่วม การใช้พนธุ์ข้าวอายุสั้นในการทำนาครั้งที่ 2 การใช้พนธุ์ข้าวอายุยาว
                                                   ั
                     เพื่อปลูกคร่อมในช่วงน้ำท่วม การใช้พนธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตมากในช่วงการทำนาครั้งที่ 1 การเลื่อนปลูกข้าวนา
                                    ั
                     ปีออกไป และใช้พนธุ์ข้าวที่ไม่ไวแสง การเปลี่ยนการปลูกมาทำนาดำ เนื่องจากต้นข้าวจะมีลำต้นที่สูงกว่า
                     การทำนาหว่าน รวมถึงการเปลี่ยนมาปลูกพืชอย่างอื่น เกษตรกรควรมีการปรับตัวให้เหมาะสมกบสภาพ
                                                                                                   ั
                                                                                           ื่
                     พื้นที่การเกิดน้ำท่วม เช่น มีการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตหลักจากเดิมที่เคยใช้ที่ดิน เพอทำนาอย่างเดียว
                                      ื่
                     มาเป็นการผลิตอย่างอนร่วมด้วย โดยเฉพาะการทำไร่นาสวนผสม
                           3.10.2 พนที่น้ำท่วมซ้ำซากบ่อยครั้ง โดยประสบน้ำท่วมขัง 4 - 7 ครั้งในรอบ 10 ปี และเสี่ยงปานกลาง
                                  ื้
                                                           ื้
                                 ั
                     ต่อการลงทุนพฒนาทางการเกษตร เนื่องจากพนที่มีสภาพราบเรียบเกือบราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ
                     มีน้ำแช่ขังประมาณ 15 - 30 วันในรอบปี บางปีท่วมถึง 2 ครั้ง เนื่องจากพนที่ดังกล่าวเสี่ยงต่อการลงทุน
                                                                                 ื้
                     ในการพัฒนาการเกษตรปานกลาง ดังนั้นจึงควรเร่งพฒนาพนที่ดังกล่าวโดยกำหนดรูปแบบ และระบบ
                                                                ั
                                                                      ื้
                     การเพาะปลูกพชให้เหมาะสมกับสภาพพนที่ เช่น การเปลี่ยนมาใช้พนธุ์ข้าวที่ทนต่อน้ำท่วม การใช้พนธุ์ข้าว
                                                                                                    ั
                                                     ื้
                                 ื
                                                                           ั
                                                                                                ั
                                                                   ื่
                                                   ั
                     อายุสั้นในการทำนาครั้งที่ 2 การใช้พนธุ์ข้าวอายุยาว เพอปลูกคร่อมในช่วงน้ำท่วม การใช้พนธุ์ข้าวที่ให้
                                                                                     ั
                     ผลผลิตมากในช่วงการทำนาครั้งที่ 1 การเลื่อนปลูกข้าวนาปีออกไป และใช้พนธุ์ข้าวที่ไม่ไวแสงมาปลูก
                     การเปลี่ยนมาทำนาดำเนื่องจากต้นข้าวจะมีลำต้นที่สูงกว่าการทำนาหว่าน รวมถึงการเปลี่ยนมา
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70