Page 60 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 60

51



                     3.7  สภาพการเกิดอุทกภัยในลุ่มน้ำ

                                                                           ื้
                                                                                               ิ
                           ปัญหาอทกภัยโดยทั่วไปจะมีสาเหตุจากฝนที่ตกหนักในพนที่ลุ่มน้ำ เนื่องมาจากอทธิพลหย่อม
                                 ุ
                     ความกดอากาศต่ำ พายุหมุนเขตร้อน ร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศต่ำ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
                     หรือลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ และจากสภาพทางกายภาพภายในลุ่มน้ำ เช่น พนที่ป่าต้นน้ำตอนบน
                                                                                         ื้
                                                                                    ื่
                                                ั
                                                                   ื้
                     ถูกทำลาย การขาดแคลนแหล่งกกเก็บน้ำขนาดใหญ่ในพนที่ลุ่มน้ำตอนบน เพอช่วยชะลอน้ำหลาก หรือ
                     ประสิทธิภาพของระบบระบายน้ำไม่ดีพอ เนื่องจากตื้นเขินหรือถูกบุกรุก มีการก่อสร้างสิ่งกีดขวางทางน้ำ
                     การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดิน เป็นต้น
                                             ุ
                           สำหรับสภาพการเกิดอทกภัยโดยทั่วไป แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก อุทกภัยที่เกิดในบริเวณ
                                                                                      ่
                      ื้
                                                           ุ
                                                                        ื้
                     พนที่ลุ่มน้ำตอนบน และลำน้ำสาขาต่าง ๆ และอทกภัยที่เกิดในพนที่ราบลุ่ม การเกิดอทกภัยในลักษณะแรก
                                                                                         ุ
                     จะเกิดจากการที่มีฝนตกหนัก และน้ำป่าไหลหลากจากต้นน้ำลงมามาก จนลำน้ำสายหลักไม่สามารถ
                     ระบายน้ำได้ทัน ประกอบกับมีสิ่งกีดขวางในลำน้ำ เช่น จากเส้นทางคมนาคมขวางทางน้ำ หรืออาคารในลำน้ำ
                     มีประสิทธิภาพการระบายน้ำไม่ดีพอ เป็นต้น สภาพการเกิดน้ำท่วมจะเป็นลักษณะการท่วมแบบฉับพลัน
                     จะใช้เวลาท่วมไม่นานนัก ส่วนในลักษณะที่สองจะเกิด บริเวณที่เป็นพนที่ราบลุ่มตอนล่างของลำน้ำ
                                                                                 ื้
                     สภาพลำน้ำสายหลักแคบ หรือตื้นเขิน ปริมาตรน้ำเกินขีดความสามารถ ความจุของลำน้ำ ความสามารถ
                     การระบายน้ำไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้ไม่สามารถระบายน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะการท่วมส่วนใหญ่
                     จะเป็นการท่วมแบบน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อสภาพเศรษฐกิจเป็นอนมาก
                                                                                                     ั
                     (สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน), 2561)

                           3.7.1 ลุ่มน้ำโขง
                                ลุ่มน้ำโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสภาพการเกิดอทกภัยใน 2 ลักษณะ คือ อทกภัยที่เกิด
                                                                           ุ
                                                                                                ุ
                              ื้
                     ในบริเวณพนที่ลุ่มน้ำโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และลำน้ำสาขาต่าง ๆ ซึ่งจะเกิดจากฝนตกหนัก
                     และน้ำป่าไหลหลากจากต้น น้ำลงมามากจนลำน้ำสายหลักไม่สามารถระบายน้ำได้ทัน เช่น อำเภอภูเรือ
                     อำเภอท่าลี่ อำเภอเมือง จังหวัดเลย อำเภอ คำชะอี จังหวัดมุกดาหาร ส่วนในลักษณะที่สอง คือ อุทกภัย
                     ในพนที่ราบลุ่ม มักจะเกิดน้ำท่วมขังเป็นประจำ เนื่องจากปริมาณน้ำหลากเกิดขึ้นในขณะเดียวกันกับ
                        ื้
                     ระดับน้ำในแม่น้ำโขงมีระดับสูง จึงทำให้ไม่สามารถระบายน้ำจากที่ลุ่มออกสู่ แม่น้ำโขงได้ เช่น อำเภอโซ่พสัย
                                                                                                       ิ
                     อำเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย อำเภอนาหว้า อำเภอ โพนสวรรค์
                     อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม เป็นต้น

                           3.7.2 ลุ่มน้ำมล
                                       ู
                                สภาพการเกิดอุทกภัยในลุ่มน้ำมูล มีลักษณะที่แตกต่างกันในแต่ละพนที่ขึ้นอยู่กับลักษณะ
                                                                                        ื้
                     ทางภูมิศาสตร์และที่ตั้ง โดยสามารถสรุปลักษณะการเกิดอุทกภัยของแต่ละจังหวัดในลุ่มน้ำมูลได้ ดังนี้

                                                                 ุ
                                1) จังหวัดนครราชสีมา บริเวณที่เกิดอทกภัยเป็นบริเวณที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำมูลทั้งสองฝั่ง
                     ตั้งแต่ท้ายลำตะคองจนไปจบลำน้ำมูลที่อำเภอเฉลิมพระเกียรติ โดยจะมีการเอ่อท่วมในบริเวณที่มี
                     ลำน้ำสาขาไหลมาบรรจบกับลำน้ำสายหลัก ซึ่งมักจะระบายไม่ทันในช่วงที่น้ำมาพร้อม ๆ กัน แต่จะเกิดขึ้น
                     ในระยะเวลาสั้น

                                2) จังหวัดบุรีรัมย์ มีสภาพการเกิดอทกภัยจากแม่น้ำมูลล้นตลิ่งในบริเวณอำเภอสตึก
                                                               ุ
                     แต่ไม่รุนแรงมากนัก
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65