Page 63 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 63

54



                     3.8  มาตรการป้องกัน และแก้ไขปัญหาพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก

                           การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมนั้น สิ่งที่สำคัญของการจัดการปัญหา คือต้องรู้ว่าอะไรที่เราจะจัดการก่อน
                     นั่นก็คือปัญหาโดยเฉพาะสาเหตุของปัญหานั้น ต้องรู้สาเหตุ และความรุนแรงของปัญหาน้ำท่วม
                     การหามาตรการที่เหมาะสมกับสาเหตุของการเกิดน้ำท่วมนั้น ซึ่งสามารถแบ่งมาตรการการป้องกัน

                       ื่
                     เพอลดความเสียหายจากน้ำท่วมได้ดังต่อไปนี้ (สุชาติ และ เกษร, 2548)
                           3.8.1 มาตรการป้องกันน้ำท่วมหรือน้ำท่วมขัง
                                                                                               ื่
                                1)  ต้องวางผังเมืองให้เหมาะสม รักษาระบบระบายน้ำตามธรรมชาติ ให้คงไว้เพอใช้ระบายน้ำ
                                                                                  ุ
                     จากพนที่ แต่หากมีความจำเป็น ต้องพฒนาพนที่เป็นแหล่งชุมชน แหล่งอตสาหกรรม ขวางทางน้ำไหล
                                                     ั
                                                          ื้
                          ื้
                     หรือพื้นที่ระบายน้ำตามธรรมชาติ จะต้องก่อสร้างระบบระบายน้ำทดแทนส่วนที่หายไป
                                2)  การก่อสร้างถนนจะต้องวางระบบการระบายน้ำ เช่น ท่อลอด สะพาน ที่เหมาะสมทั้ง
                     ตำแหน่งที่ตั้ง จำนวน และขนาด
                                      ื้
                                3)  ในพนที่ที่มีการทรุดตัว ต้องไม่สูบน้ำใต้ดินมาใช้โดยปราศจากการควบคุม ต้องมีการป้องกัน
                     การกัดเซาะชะล้างหน้าดินออกจากพนที่ด้วยวิธีการที่เหมาะสม เช่น การใช้หญ้าแฝก การปลูกพชคลุมดิน
                                                                                                  ื
                                                   ื้
                     เป็นต้น
                           3.8.2 มาตรการป้องกันน้ำป่าไหลหลากหรือน้ำท่วมฉับพลัน
                                1) นอกจากไม่ตัดไม้ทำลายป่าแล้ว ต้องเร่งปลูกต้นไม ปลูกป่าทดแทน ส่วนที่เสียหายและ
                                                                            ้
                     ถูกทำลายไป

                                2) การสร้างระบบป้องกันการกัดเซาะ ชะล้างพังทลายของดินลาดเชิงเขา
                                3)   การสร้างแหล่งน้ำขนาดต่างๆ ตั้งแต่ฝายแม้ว แหล่งน้ำขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
                       ื
                     เพ่อรองรับน้ำให้เก็บกักเอาไว้ ไม่ปล่อยลงมาอย่างทันทีทันใดจนท่วมพ้นที่ตอนล่าง หรือไหลทิ้งออก
                                                                                 ื
                                                               ั
                     จากลุ่มน้ำ และออกไปสู่ทะเล ซึ่งนอกจากช่วยป้องกนภัยน้ำท่วมแล้ว ยังสามารถเก็บกักน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง
                     ได้อีกด้วย
                                4) ต้องมีระบบควบคุมน้ำทะเลหนุน ได้แก่ ประตูระบายน้ำที่มีประสิทธิภาพ และมีการบริหาร
                     จัดการน้ำที่ดี

                                5) การก่อสร้างแหล่งน้ำ เพื่อรองรับน้ำที่ระบายจากลุ่มน้ำตอนบน ในช่วงน้ำทะเลหนุนไว้
                     ก่อนที่จะระบายออกสู่ทะเลหรือพื้นที่แก้มลิง

                           3.8.3 มาตรการป้องกันน้ำล้นตลิ่ง
                                1) การที่มีฝนตกหนักมากจนเกินความสามารถที่ลำน้ำจะรองรับไว้ได้เป็นเหตุที่ป้องกันได้
                                                    ื่
                     ถ้ามีการศึกษาเกี่ยวกับลุ่มน้ำดีพอ เพอเป็นข้อมูลในการจัดการน้ำในลุ่มน้ำ ปรับปรุงขุดลอกลำน้ำให้มี
                     ความเหมาะสมที่จะรองรับปริมาณฝนสูงสุดที่จะเกิดขึ้นได้
                                2) การตรวจสอบเพ่อกำจัดสิ่งกีดขวางในลำน้ำทั้งช่วงก่อนฤดูน้ำหลาก และช่วงที่มี
                                                  ื
                     น้ำหลากแล้ว
                                3) การสร้างระบบควบคุมที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างฝายทดน้ำในลำน้ำอาจ

                     เป็นสาเหตุของการเกิดอุทกภัยได้ ถ้าออกแบบไม่เหมาะสม
                                                                                    ่
                                4) มีการบริหารจัดการน้ำที่ดี ให้ระบบควบคุม ได้แก่ เขื่อน อางเก็บน้ำ ฝายทดน้ำ หรือ
                     ประตูระบายน้ำ ให้เป็นประโยชน์ในการป้องกันการเกิดอุทกภัย
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68