Page 66 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 66

57



                                 ื่
                          ื
                                                ื
                                     ื่
                     ปลูกพชอย่างอนเพอเป็นรายได้ พชบางชนิดสามารถเอาตัวรอดได้หากมีรากแก้ว และระบบรากพอจะมี
                     ออกซิเจนเหลือให้หายใจได้ เนื่องจากน้ำอาจซึมผ่านชั้นดินไปไม่ถึง ดังนั้นรากของต้นไม้ชนิดต่าง ๆ
                                                                 ื
                     หากมีระบบรากไม่ลึกมากส่วนใหญ่ก็จะตาย ยกเว้นพชที่มีระบบรากตื้น แต่มีเหง้า เช่น เตย กล้วย ไผ่
                     ซึ่งสามารถทนต่อน้ำท่วมขังได้ไม่เกิน 15 วัน
                                  ื้
                           3.10.3  พนที่น้ำท่วมซ้ำซากเป็นประจำโดยประสบน้ำท่วมขง 8-10 ครั้งในรอบ 10 ปี สภาพพนที่
                                                                                                       ื้
                                                                           ั
                     เป็นที่ราบเรียบ เกือบราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบมีน้ำแช่ขังมากกว่า 1 เดือนในรอบปี บางปีท่วม
                                                                                       ื้
                     ประมาณ 3 - 4 ครั้งต่อปี และมีความเสี่ยงต่ำต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตรพนที่ส่วนใหญ่เป็นนาข้าว
                                                         ื้
                                                 ื่
                     ดังนั้นจึงควรมีมาตรการเร่งรัด เพอจัดการพนที่ดังกล่าวโดยด่วน เช่น ศึกษาพฤติกรรมการเกิดน้ำท่วม
                                                                                                       ื้
                     และปริมาณน้ำที่ท่วมในแต่ละครั้ง กำหนดรูปแบบ และระบบการเพาะปลูกพชให้เหมาะสมกับสภาพพนที่
                                                                                   ื
                                                                     ื่
                     ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และระบบการผลิตการเกษตร เพอให้เป็นการเกษตรแบบผสมผสานร่วมกับ
                                                                 ื่
                              ์
                     การอนุรักษและปรับปรุงบำรุงดิน การทำคันกั้นดิน เพอป้องกนเพื่อป้องกันน้ำท่วม การขุดลอกลำรางน้ำ
                                                                       ั
                                ื่
                                                  ื้
                     และคลอง เพอระบายน้ำออกจากพนที่ การถมดินเพอให้ระดับของพื้นที่นาสูงขึ้น และการสร้างแหล่งน้ำ
                                                                ื่
                                                                                                     ี
                     เพื่อเก็บกักปริมาณน้ำหลากไว้ ซึ่งนอกจากจะช่วยป้องกันอทกภัย ยังสามารถเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้งได้อกด้วย
                                                                   ุ
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71