Page 71 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 71

62




                                                                   ื่
                                                                                           ื่
                     และความสูงจากระดับน้ำทะเล มาใช้วิเคราะห์ร่วมด้วย เพอเชื่อมโยงข้อมูลเข้าด้วยกัน เพอให้ข้อมูลมีความ
                                                                    ื้
                         ี
                     ละเอยด และมีความถูกต้องมากที่สุด รวมถึงขนาดของพนที่ที่ใช้ในการวิเคราะห์ ยิ่งขนาดของพนที่ยิ่ง
                                                                                                     ื้
                     เล็ก ปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ก็ควรมีความละเอยดมากขึ้นด้วย เพื่อความถูกต้องของผลการวิเคราะห์
                                                           ี
                           4.2.2  ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนดพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก สิ่งจำเป็นที่สุดคือ ฐานข้อมูลต่าง ๆ
                     ที่เป็นตัวแปรในการวิเคราะห์ จะต้องจัดเตรียมให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลเชิงตัวเลขให้แล้วเสร็จ และ
                     เป็นมาตราส่วนเดียวกัน ซึ่งใช้เวลาค่อนข้างมาก บางข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงช้า สามารถใช้วิเคราะห์ได้
                     หลายช่วงปี เช่น ข้อมูลด้านดิน ระบบลำน้ำ ระบบโครงข่ายถนน โดยมีการปรับปรุงฐานข้อมูลบ้าง
                     เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง สำหรับข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ได้แก่ ข้อมูลสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                                                                               ื่
                                                                                         ื้
                     และข้อมูลปริมาณน้ำฝน ซึ่งเป็นตัวแปรหลัก ที่นำมาวิเคราะห์ เพอกำหนดพนที่น้ำท่วมซ้ำซาก
                     จำเป็นต้องเชื่อมโยงข้อมูลกับกรมอุตุนิยมวิทยาตลอดเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลง
                           4.2.3  ควรมีการติดตาม วิเคราะห์สาเหตุ ประเมินสถานการณ์ การสำรวจข้อมูลความเสียหาย
                     และพนที่การเกษตรที่รับผลกระทบจากภัยน้ำท่วมในแต่ละปี ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องมีการเก็บบันทึกข้อมูล
                          ื้
                     สถิติการเกิดอุทกภัยในทุกปี ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูล และตรวจทานความถูกต้องของข้อมูลที่วิเคราะห์ออกมา

                     ได้อีกครั้งหนึ่ง

                                                        ื่
                           4.2.4  การวางแผนในการรับมือ เพอป้องกันความเสียหายจากน้ำท่วมมีการจัดทำแผนที่เสี่ยงภัย
                     และให้คำแนะนำการปลูกพช ระบบการปลูกพช ในเขตที่ดินที่เหมาะสม มีการเฝ้าระวังและคาดการณ์
                                            ื
                                                            ื
                                                 ื่
                                                                                             ั
                      ื้
                     พนที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยน้ำท่วม เพอแจ้งเตือนเกษตรกร ควรมีการบูรณาการทำงานร่วมกบหน่วยงานอื่น
                                 ั
                     เช่น กรมป้องกนและบรรเทาสาธารณภัย กรมชลประทาน กรมส่งเสริมการเกษตร ในการจัดทำแผนงาน
                                        ื่
                     และโครงการต่าง ๆ เพอช่วยป้องกนและบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติด้านการเกษตร เช่น การพัฒนา
                                                 ั
                                            ื้
                     แหล่งขุดลอกแหล่งน้ำเป็นพนที่รับน้ำในช่วงฤดูฝน การขุดสระน้ำในไร่นา และการอนุรักษ์ดินและน้ำ
                                        ั
                     เพื่อป้องกันการชะล้างพงทลายของดิน เป็นต้น
                           4.2.5  การปรับตัวให้เข้ากับสภาพน้ำท่วม เช่น การทำคันดินเพอป้องกันน้ำท่วม การขุดคูคลอง
                                                                               ื่
                                                                                                  ื้
                     เพอระบายน้ำออกจากพนที่ซึ่งต้องตระหนักว่าน้ำท่วมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากอาศัยอยู่ในพนที่ลุ่มน้ำ
                       ื่
                                         ื้
                     หรือชายฝั่งแม่น้ำ และยอมรับว่าจะต้องเผชิญหน้ากับน้ำท่วมเป็นประจำ ดังนั้นการให้ข้อมูลและ
                     ความรู้เรื่องน้ำท่วม การแจ้งเตือนภัยแก่ประชาชนจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพ่อให้สามารถรับมือ
                                                                                          ื
                                                                                           ื
                     กับปัญหาน้ำท่วมได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระดับน้ำ วิธีการจัดการที่อยู่อาศัย และพ้นที่ทำการเกษตร
                     การปรับเปลี่ยนฤดูกาลเพาะปลูกโดยเลื่อนช่วงการปลูกข้าวให้เร็วขึ้น หรือการใช้พันธุ์ข้าวอายุสั้นใน
                     การทำนาครั้งที่ 2 รวมถึงการเปลี่ยนชนิดพชปลูกให้ทนต่อสภาพน้ำท่วมขังก็จะช่วยบรรเทาความเสียหาย
                                                       ื
                     จากภัยน้ำท่วมได้ในระดับหนึ่ง

                           4.2.6  การมีส่วนร่วมของประชาชนในการรับมือปัญหาน้ำท่วมซ้ำซากในพนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                                   ื้
                     จะมากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงสาเหตุการเกิดปัญหาอทกภัย ผลกระทบจากการเกิดอุทกภัย
                                                                          ุ
                     และการเตรียมความพร้อมรับมือปัญหาอทกภัย หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ควรเข้ามามีส่วนร่วม
                                                     ุ
                     ในการส่งเสริมการให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์น้ำท่วมแก่เกษตรกรอย่างสม่ำเสมอ ในช่วงที่เสี่ยง
                     ต่อการเกิดน้ำท่วม โดยผ่านสื่อต่างๆ ให้มากขน เพอสร้างการรับรู้ให้ประชาชนตื่นตัวกับปัญหาน้ำท่วม
                                                               ื่
                                                           ึ้
                     สามารถปรับตัวได้ทันกับสถานการณ์ เพอลดความเสียหายของผลผลิตที่เกิดจากน้ำท่วมลง รวมทั้งสามารถ
                                                     ื่
                     ใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแผนการผลิตในฤดูกาลต่อไป
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76