Page 14 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 14
5
2.2 สภาพภูมิอากาศ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสลับร้อนแห้งแล้ง หรือฝนเมืองร้อน
ื้
เฉพาะฤดู เป็นลักษณะอากาศแบบภาคพนทวีป ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับฝนอย่างเด่นชัด 2 ทางด้วยกัน
คือ ฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ได้รับน้อย และไม่สม่ำเสมอเพราะมีทิวเขาเพชรบูรณ์ ดงพญาเย็น
สันกำแพง และพนมดงรักกั้นฝนเอาไว้ พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนมากจึงเป็นด้านปลายลมของ
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และฝนจากพายุดีเปรสชันที่เคลื่อนที่เข้ามาในทิศทางตะวันออก ไปทางตะวันตก
ปีละ 3 - 4 ลูก ทำให้ได้รับฝนเพมขึ้น ซึ่งจังหวัดทางด้านตะวันออก ก็จะได้รับฝนมากกว่าจังหวัดทาง
ิ่
ด้านตะวันตก เช่นเดียวกัน จังหวัดที่มีปริมาณฝนมากที่สุดของภาค คือ จังหวัดนครพนม จังหวัดที่มี
ปริมาณฝนน้อยที่สุด คือ จังหวัดนครราชสีมา ปริมาณฝนตกเฉลี่ยต่อปีประมาณ 1,200 มิลลิเมตร ฤดูฝน
ั
อยู่ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาวอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพนธ์ และฤดูร้อน
ุ
อยู่ในช่วงเดือนมีนาคมถงเดือนพฤษภาคม อณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 26 - 27 องศาเซลเซียส อย่างไรก็ตาม
ึ
ในช่วงฤดูหนาวอณหภูมิต่ำสุดประมาณ 8 องศาเซลเซียส และในฤดูร้อนอณหภูมิสูงสุดถึง 41 องศาเซลเซียส
ุ
ุ
ุ
โดยปัจจัยที่ควบคุมอณหภูมิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ได้รับอทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ิ
ซึ่งมีผลทำให้มีอากาศหนาวเย็นกว่าภาคอน ๆ และลักษณะลมพายุหมุน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพายุดีเปรสชัน
ื่
จากทะเลจีนใต้ จึงทำให้มีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง รวมถึงระยะใกล้ไกลทะเล จึงทำให้อากาศมีความแตกต่างกัน
ระหว่างฤดูร้อน และฤดูหนาวมาก เนื่องจากไม่มีพนที่ติดต่อกับทะเล อกทั้งการวางตัวของภูเขาดงพญาเย็น
ื้
ี
และสันกำแพง ซึ่งวางตัวในแนวเหนือใต้ กั้นลมฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
2.2.1 การกระจายตัวของฝน ปี พ.ศ. 2565 และความผิดปกติของฝนเมื่อเทียบกับค่าปกติ
โดยปี พ.ศ. 2565 ประเทศไทยมีปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งประเทศ 1,848 มิลลิเมตร มากกว่าปกติ 349 มิลลิเมตร
หรือมากกว่าปกติประมาณร้อยละ 23 พนที่ส่วนใหญ่ของประเทศมีฝนตกมากกว่าปกติ แต่มีฝนตกน้อยกว่า
ื้
ปกติเกิดขึ้นเป็นหย่อมเล็ก ๆ ในทุกภาค โดยเฉพาะบางพนที่ทางด้านตะวันออกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ื้
และตอนกลางของภาคใต้ที่มีฝนตกน้อยกว่าปกติค่อนข้างมาก โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีฝนตกเฉลี่ยทั้ง
ภาค 1,766 มิลลิเมตร มากกว่าปกติร้อยละ 27 พื้นที่ส่วนใหญ่ของภาคมีฝนตกมากกว่าปกติ โดยจังหวัดบุรีรัมย์
มีฝนตกมากกว่าปกติสูงที่สุดถึงร้อยละ 56.88 รองลงมาคือจังหวัดนครราชสีมาและบึงกาฬที่มี
ฝนตกมากกว่าปกติร้อยละ 43.33 และร้อยละ 41.02 และมีฝนตกน้อยกว่าปกติเกิดขึ้นในบางพนที่
ื้
ุ
ของจังหวัดนครพนม สกลนคร มุกดาหาร อดรธานี หนองบัวลำภูและสุรินทร์ โดยเฉพาะจังหวัดนครพนม
ที่มีฝนตกน้อยกว่าปกติร้อยละ 10.57 ซึ่งน้อยเป็นอันดับที่สองของประเทศรองจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี
2.2.2 ปริมาณฝนรายฤดูกาล เปรียบเทียบสถานการณ์ฝนในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้ง ในฤดูแล้ง
ปี พ.ศ. 2564/2565 (พฤศจิกายน 2564 - เมษายน 2565) ประเทศไทยมีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 420 มิลลิเมตร
ื้
มากกว่าปกติ 127 มิลลิเมตร หรือประมาณร้อยละ 43 พนที่ส่วนใหญ่ของประเทศมฝนตกมากกว่าปกติ
ี
แต่ก็มีสถานการณ์ฝนตกน้อยกว่าปกติเกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ ในทุกภาค โดยเฉพาะบริเวณตอนกลางและ
บางพนที่ทางด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณจังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม
ื้
จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดอุดรธานี จังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม ที่เกิดเหตุการณ์ฝนตกน้อยกว่า
ปกติเป็นบริเวณกว้าง สำหรับในช่วงฤดูฝนของปี พ.ศ. 2565 (พฤษภาคม - ตุลาคม 2565) ประเทศไทย
มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 1,398 มิลลิเมตร มากกว่าปกติ 192 มิลลิเมตร หรือประมาณร้อยละ 16
ื้
พนที่ส่วนใหญ่ของประเทศมีฝนตกมากกว่าปกติ แต่มีเหตุการณ์ฝนตกน้อยกว่าปกติเกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ