Page 16 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 16

7




                     ทางลุ่มแม่น้ำชี และแม่น้ำมูล ทั้งนี้เพราะแนวเทือกเขาภูพานทอดยาวค่อนไปทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของภาค
                     ในแนวทิศตะวันออกเฉียงใต้ และตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนทางตอนบนเป็นแองหนองหาร และที่ราบลาดเอียง
                                                                                 ่
                     ไปทางแม่น้ำโขง ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาโดยทั่วไปของภาคนี้ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินชั้น

                     ซึ่งมีหินทราย และชั้นเกลือแทรกอยู่ในบางบริเวณ จากการสำรวจพบว่า บางแห่งความหนาของชั้นเกลือ
                                                                                                ุ
                     นับเป็นร้อยเมตร หินดานที่เป็นหินทรายเหล่านี้ เมื่อสึกกร่อนสลายตัวไปเป็นดินทราย ขาดความอดมสมบูรณ์
                     และไม่เก็บน้ำ ทำให้เกิดปัญหาความแห้งแล้งซึ่งปรากฏอยู่ทั่วไปในภูมิภาคนี้ ทั้งที่บางบริเวณมีปริมาณ
                     ฝนมากกว่าภาคกลางของประเทศ ภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งเขตย่อยตามลักษณะ
                                                                                               ื้
                     และโครงสร้างได้ 4 บริเวณด้วยกัน คือ บริเวณภูเขา และที่สูงด้านตะวันตก ครอบคลุมพนที่ตามแนว
                     เทือกเขาเพชรบูรณ์ในเขตจังหวัดเลย ขอนแก่น ทอดยาวมาเชื่อมต่อกับเทือกเขาดงพญาเย็นในเขต
                     จังหวัดชัยภูมิ และนครราชสีมา ลักษณะภูมิประเทศบริเวณนี้ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยภูเขาหินทราย
                     ชุดพระวิหารภูพาน และชุดภูกระดึง การกัดเซาะสึกกร่อนบางแห่งยังคงลักษณะภูมิประเทศ เป็นภูเขา

                     ที่มีด้านราบ และมีขอบชัน เช่น ภูกระดึง เขาใหญ่ เป็นต้น เทือกภูเขาสูงเป็นแหล่งเกิดของแม่น้ำลำธาร
                                                            ี
                     สายสำคัญที่ไหลไปทางตะวันออกตามแนวลาดเอยงของภูมิประเทศ ได้แก่ แม่น้ำชี แม่น้ำพอง แม่น้ำพรม
                     แม่น้ำเชิญ และลำธารสายสั้น ๆ อีกมากมาย บางบริเวณภูมิประเทศเป็นที่สูงสลับลูกเนินเตี้ย ๆ มีที่ราบแคบ ๆ
                     ในเขตจังหวัดชัยภูมิ เขตนี้บางแห่งยังมีป่าดงดิบที่สมบูรณ์แห่งหนึ่งของประเทศ ปัจจุบันป่าดังกล่าวถูกถาง

                       ื่
                     เพอทำไร่บริเวณเทือกเขาสันกำแพง และเทือกเขาดงรัก ภูมิประเทศทางด้านใต้ของภาคนี้ ด้านที่ติดกับ
                                                                                                       ี
                     ราชอาณาจักรกัมพชา พนที่ถูกยกตัวสูงขึ้นขนานไปตามแนวละติจูดบริเวณประเทศไทย เป็นที่สูงลาดเอยง
                                         ื้
                                    ู
                                                        ู
                     ไปทางเหนือ ส่วนในราชอาณาจักรกัมพชาเป็นที่ราบต่ำ จึงมักจะเรียกกันว่าเขมรสูง และเขมรต่ำ
                     แนวเทือกเขาสูงดังกล่าวเป็นแหล่งของต้นน้ำลำธารหลายสาย เช่น ลำตะคอง ลำพระเพลิง แม่น้ำมูล
                     ลำปลายมาศ ห้วยขะยูง ลำโคมใหญ่ และลำโคมน้อย สาขาเหล่านี้ไหลลงสู่แม่น้ำมูล และแม่น้ำโขงในที่สุด
                     ภูมิประเทศที่เป็นที่ราบเชิงเขา มีการ  กัดเซาะสึกกร่อน บางแห่งเป็น    ภูมิประเทศมีทั้งที่สูงที่ต่ำสลับกันไป
                     เช่นเดียวกับที่ราบลูกฟก นอกจากหินชั้นแล้ว บางแห่งยังมีหินอคนี    ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหินบะซอลท์
                                                                           ั
                                        ู
                     ยุคเทอร์เชียรี แทรกดันตัวขึ้นมาเป็นหย่อม ในเขตจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสะเกษ บางบริเวณ
                     ที่ราบลุ่มแม่น้ำชี และแม่น้ำมูล จัดเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำที่มีอาณาบริเวณกว้างขวางที่สุดในภูมิภาคนี้
                                                  ู
                     บางแห่งภูมิประเทศเป็นที่ราบลูกฟก สลับลูกเนิน ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป ที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้งสองนี้
                     เนื่องจากเป็นที่ลุ่มต่ำ ประกอบกับบางบริเวณแม่น้ำไหลคดเคี้ยว และบางแห่งแม่น้ำลัดทางเดิน

                     จึงมีทะเลสาบรูปแอกปรากฏอยู่ทั่วไป ประชากรตั้งบ้านเรือนอยู่ใน เขตนี้หนาแน่นกว่าเขตอื่นๆ ของภาค
                     ส่วนใหญ่มักจะรวมกันอยู่บนที่ดอนเป็นกลุ่ม ซึ่งลักษณะการตั้งบ้านเรือนดังกล่าวแตกต่างไปจากการตั้ง
                     บ้านเรือนในบริเวณภาคกลางของประเทศ สาขาของแม่น้ำชีในส่วนที่เกิดจากเทือกเขาภูพาน เช่น ลำเซ
                     ห้วยเซบก ไหลลงสู่แม่น้ำชี และไปรวมกับแม่น้ำมูลระหว่าง อำเภอเขื่องใน กับอำเภอวารินชำราบ
                     ในเขตจังหวัดอบลราชธานี และแม่น้ำมูลไหลลงสู่แม่น้ำโขง ในเขตจังหวัดอบลราชธานีเช่นเดียวกัน
                                                                                     ุ
                                  ุ
                     แองที่ราบโคราช (Korat basin) เป็นที่ราบต่ำที่อยู่ทางตอนล่าง (ด้านใต้) ของภาคเริ่มตั้งแต่บริเวณ
                       ่
                     ชายขอบของเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งอยู่ทางด้านใต้ขึ้นไปทางเหนือจดเชิงเขาภูพาน และชายขอบของ
                     เทือกเขาพญาเย็น ซึ่งอยู่ทางตะวันตกไปทางตะวันออกจน จดแม่น้ำโขง บริเวณแอ่งโคราชนี้มีลักษณะภูมิประเทศ

                     เป็นที่ราบลูกระนาด สลับกับลุ่มแม่น้ำโดยมีที่สูงอยู่ทางด้านตะวันตกและจะลาดต่ำลงไปทางตะวันออก
                     มีแม่น้ำไหลลงสู่แม่น้ำโขง คือ แม่น้ำชี กับแม่น้ำมูลแองที่ราบสกลนคร (Sakon Nakorn basin) เป็นแอง ่
                                                                ่
                                               ื้
                     ที่อยู่ทางตอนเหนือของภาค มีพนที่เล็กกว่าแองที่ราบโคราช เริ่มตั้งแต่บริเวณชายขอบเทือกเขาภูพานขึ้นไป
                                                          ่
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21