Page 19 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 19

10




                     ทำให้ดินมีปริมาณของอนุภาคทรายสูง นอกจากสาเหตุทางธรรมชาติแล้ว ยังพบว่ากิจกรรมของมนุษย์
                     ก็ส่งผลต่อระดับความอดมสมบูรณ์ของดิน โดยในอดีตมากกว่า 50 ปีที่ผ่านมา ภาคนี้มีการเปลี่ยนแปลง
                                        ุ
                                                  ื่
                     การใช้ที่ดินจากระบบนิเวศป่าไม้ เพอทำการเกษตร โดยเฉพาะระบบการเกษตรเชิงเดี่ยว ซึ่งเป็นระบบที่
                     ขาดการปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน และอนุรักษ์ดินและน้ำอย่างพอเพียง ทำให้ดุลยภาพของธาตุอาหาร
                                                                                        ิ
                     เปลี่ยนแปลงไปในทางลบ ดินเกิดการกร่อน และการชะล้างธาตุอาหารสูง ปริมาณอนทรียวัตถุในดินลดลง
                     ส่งผลทำให้ผลผลิตลดลง ประกอบกับการที่มีจำนวนประชากรเพมขึ้น และต้องการทำการเกษตร เพอค้าขาย
                                                                        ิ่
                                                                                                   ื่
                                                                                                      ิ่
                                                               ุ
                     มากขึ้น ทำให้มีการบุกรุกพนที่ป่าเพมขึ้น ดินมีความอดมสมบูรณ์ลดลง และดินเกิดสภาพเสื่อมโทรมเพมขึ้น
                                          ื้
                                                 ิ่
                                                                                 ุ
                     อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ในบางพนที่ของดินภาคนี้ ยังมีพนที่ที่มีความอดมสมบูรณ์ในระดับปานกลาง
                                                  ื้
                                                                      ื้
                     และระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 28.03 และ 0.45 ของจำนวนข้อมูลทั้งหมดของภาค ตามลำดับ ซึ่งโดยมาก
                     ในบริเวณที่ลุ่มใกล้แม่น้ำมูล แม่น้ำชี และแม่น้ำสายหลัก ๆ ของภาค (กรมพัฒนาที่ดิน, 2564)
                     2.5  ทรัพยากรน้ำและแหล่งน้ำ
                           ลุ่มน้ำหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี 3 ลุ่มน้ำใหญ่ ได้แก่ ลุ่มน้ำโขง ลุ่มน้ำมูล และลุ่มน้ำชี
                     (สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ, 2564)

                                             ื้
                           2.5.1  ลุ่มน้ำโขง มีพนที่ของลุ่มน้ำประมาณ 57,189 ตารางกิโลเมตร หรือ 35,742,875 ไร่
                     คิดเป็นร้อยละ 11.12 ของพนที่ ทั้งประเทศ สภาพโดยทั่วไปเป็นพนที่ราบสูง มีเทือกเขาเพชรบูรณ์
                                             ื้
                                                                              ื้
                     ดงพญาเย็น ภูพาน และพนมดงรัก อยู่ทางทิศใต้ และทิศตะวันตกของลุ่มน้ำ ครอบคลุมพ้นที่ใน
                                                                                                    ื
                     จังหวัดกาฬสินธุ์ เชียงราย นครพนม  บึงกาฬ พะเยา พษณุโลก เพชรบูรณ์ มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอด
                                                                   ิ
                                                                                                        ็
                                                                              ุ
                     เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี และอบลราชธานี แม่น้ำโขงมีความยาว
                     ทั้งสิ้น 4,173 กิโลเมตร แบ่งเป็นแม่น้ำโขงตอนบน มีความยาวประมาณ 1,800 กิโลเมตร และ
                     แม่น้ำโขงตอนล่าง ซึ่งมีความยาวประมาณ 2,373 กิโลเมตร

                           2.5.2 ลุ่มน้ำชี มีพ้นที่ของลุ่มน้ำประมาณ 49,130 ตารางกิโลเมตร หรือ 30,706,169 ไร่
                                           ื
                     คิดเป็นร้อยละ 9.56 ของพ้นที่ทั้งประเทศ สภาพโดยทั่วไปเป็นเทือกเขาสูง ทางทิศตะวันออกและ
                                            ื
                     ทิศเหนือคือเทือกเขาภูพาน ทิศตะวันตกคือเทือกเขา ดงพญาเย็น ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำชีและ

                                                  ื้
                     แม่น้ำสาขาที่สำคัญหลายสาย ส่วนพนที่ตอนกลางเป็นที่ราบถึงลูกคลื่น ลอนและมีเนินเล็กน้อยทางตอนใต้
                                        ื้
                     ของลุ่มน้ำ ครอบคลุมพนที่ในจังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา เพชรบูรณ์ มหาสารคาม
                                                                                                ุ
                                                                                    ุ
                     มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอด ลพบุรี เลย ศรีสะเกษ สกลนคร หนองบัวลำภู อดรธานี และ อบลราชธานี
                                          ็
                     ลำน้ำสายหลัก คือ แม่น้ำชี ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากยอดเขาในแนวเทือกเขาเพชรบูรณ์ ในเขตอำเภอเกษตรสมบูรณ์
                     จังหวัดชัยภูมิ มีความยาวประมาณ 830 กิโลเมตร สภาพภูมิประเทศของลุ่มน้ำชี ประกอบไปด้วย
                     เทือกเขาสูงทางทิศตะวันออกและทิศเหนือ คือ เทือกเขาภูพาน ทิศตะวันตกคือเทือกเขาดงพญาเย็น
                     ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำชีและแม่น้ำสาขาที่สำคัญหลาย สาย ส่วนพนที่ตอนกลางเป็นที่ราบถึงลูกคลื่นลอน
                                                                            ื้
                     และมีเนินเล็กน้อยทางตอนใต้ของลุ่มน้ำ ลำน้ำสายหลัก คือ แม่น้ำชี ลำน้ำสาขาที่สำคัญ คือ น้ำพรม

                     น้ำพอง น้ำเชิญ ลำปาว และน้ำยัง

                           2.5.3  ลุ่มน้ำมล ลุ่มน้ำมูลตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพนที่ประมาณ 71,072 ตารางกิโลเมตร
                                                                             ื้
                                       ู
                     หรือประมาณ 44,419,738 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.83 ของพนที่ทั้งประเทศ ทางตอนบนของลุ่มน้ำ
                                                                        ื้
                     มีสภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสูง มีเทือกเขาบรรทัดและพนมดงรักเป็นแนวยาวอยู่ทางทิศใต้
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24