Page 22 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 22

13




                     2.6  ทรัพยากรป่าไม้
                                                            ื้
                                                                              ื้
                           ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: ครอบคลุมพนที่ 20 จังหวัด มีพนที่ทั้งหมด 104,823,709.22 ไร่
                                                                                      ื้
                         ื้
                                                                                                       ื้
                     พบพนที่ป่าไม้ 15,655,553.79 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.94 จังหวัดที่มีสัดส่วนพนที่ป่าไม้เทียบกับพนที่
                     จังหวัดมากที่สุด ได้แก่ มุกดาหาร (ร้อยละ 33.14) รองลงมาคือ เลย (ร้อยละ 32.30) ชัยภูมิ (ร้อยละ 30.50)
                      ุ
                     อบลราชธานี  (ร้อยละ 18.12) สกลนคร (ร้อยละ 17.64) นครราชสีมา (ร้อยละ 15.11) นครพนม
                     (ร้อยละ 14.13) ศรีสะเกษ (ร้อยละ 11.48) หนองบัวลำภู (ร้อยละ 11.47) ขอนแก่น (ร้อยละ 11.14)
                     กาฬสินธุ์ (ร้อยละ 10.72) อุดรธานี (ร้อยละ 10.29) อำนาจเจริญ (ร้อยละ 10.01) ยโสธร (ร้อยละ 9.14)

                     บุรีรัมย์ (ร้อยละ 8.75) สุรินทร์ (ร้อยละ 8.37) หนองคาย (ร้อยละ 7.13) บึงกาฬ (ร้อยละ 7.01)
                                                                     ื
                     ร้อยเอด (ร้อยละ 4.34) และมหาสารคาม (ร้อยละ 3.80) โดยพชพรรณธรรมชาติของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                          ็
                        ื้
                     มีพนที่ป่าส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณ มีเนื้อที่ 5,983,516.13 ไร่ รองลงมาป่าดิบแล้ง มีเนื้อที่
                     5,249,020.06 ไร่ และป่าเต็งรัง มีเนื้อที่ 2,892,030.83 ไร่ ตามลำดับ (สำนักจัดการที่ดินป่าไม้, 2562)





























                     ภาพที่ 2.4 พื้นที่ป่าไม้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                     ที่มา : สำนักจัดการที่ดินป่าไม้, 2562


                     2.7  สภาพการใช้ที่ดิน

                           จากข้อมูลการสำรวจและจัดทำแผนที่การใช้ที่ดินของประเทศไทย โดยกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน
                                                      ั
                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพฒนาที่ดิน ระหว่างปี พ.ศ. 2562 สามารถแบ่งสภาพการใช้ที่ดิน
                                                                   ื้
                                                                                            ื้
                     บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ 5 ประเภท ได้แก่ พนที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พนที่เกษตรกรรม
                      ื้
                     พนที่ป่าไม้ พนที่แหล่งน้ำ และพนที่เบ็ดเตล็ด (ตารางที่ 2.1) โดยการใช้ประโยชน์ที่ดินของภาค
                                                  ื้
                                 ื้
                     ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เป็นการทำการเกษตรแบบอาศัยน้ำฝน พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก ข้าว มัน
                                                                                                  ่
                     สำปะหลัง ข้าวโพด อ้อย และยางพารา
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27