Page 26 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 26

17



                     3.3  ปัญหาและสาเหตุของการเกิดอุทกภัย

                           การพจารณาในเรื่องการเกิดน้ำท่วมนั้นอาจพจารณาปัจจัย 2 ประเด็น คือ พิจารณาปัญหาหรือ
                               ิ
                                                                ิ
                     สิ่งที่เป็นต้นเหตุทำให้เกิดน้ำท่วมและพิจารณาถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดน้ำท่วม
                           3.3.1  สาเหตุทำให้เกิดน้ำท่วม แบ่งได้ 3 กรณี คือ จากน้ำฟ้า น้ำจากแหล่งเก็บกักน้ำ และน้ำทะเลหนุน

                                                 ้
                                                                       ้
                                1) น้ำท่วมจากน้ำฟา (Precipitation) ซึ่งน้ำฟาหมายถึง สภาวะของน้ำที่ตกลงมาจาก
                     ท้องฟ้า อาจจะเป็นลักษณะ ฝน หิมะ ละอองหรือลูกเห็บ โดยทั่วไปแล้วถือว่าฝนเป็นปัจจัยสำคัญททำให้
                                                                                                     ี่
                     เกิดอทกภัย และฝนที่มีปริมาณมากจนทำให้เกิดอทกภัยได้นั้นมาจากหย่อมความกดอากาศต่ำ พายุฝน
                         ุ
                                                              ุ
                     ร่องมรสุม และลมมรสุมซึ่งแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้คือ
                                              ้
                                                                    ั
                                  (1)  พายุฝนฟาคะนอง มีลักษณะเป็นลมพดย้อนไปมาหรือพดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน
                                                                                 ั
                                       ่
                     อาจเกิดจากพายุที่ออนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หรือเกิดจากหย่อมความกดอากาศต่ำ
                     ร่องความกดอากาศต่ำอาจไม่มีทิศทางที่แน่นอน หากสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของการเกิดฝนเหมาะสม
                     ก็จะเกิดฝนตกมีลมพัด
                                  (2)  พายุหมุนเขตร้อนต่าง ๆ เช่น เฮอร์ริเคน ไต้ฝุ่น และไซโคลน ซึ่งล้วนเป็นพายุหมุน
                     ขนาดใหญ่เช่นเดียวกัน และจะเกดขึ้นหรือเริ่มต้นก่อตัวในทะเล หากเกดเหนือเส้นศูนย์สูตรจะมีทิศทาง
                                                ิ
                                                                               ิ
                     การหมุนทวนเข็มนาฬิกา และหากเกิดใต้เส้นศูนย์สูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกาโดยมีชื่อต่างกันตามสถานที่เกิด
                     ดังนี้

                                    - พายุเฮอร์ริเคน (Hurricane) เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดบริเวณทิศตะวันตก
                                                                                 ิ
                     ของมหาสมุทรแอตแลนติก เช่น บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซโก ทะเลแคริบเบียน เป็นต้น
                                                                           ่
                     รวมทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณชายฝั่งประเทศเม็กซิโก
                                    - พายุไต้ฝุ่น (Typhoon) เป็นชื่อพายุหมุนที่เกิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทร

                     แปซิฟิกเหนือ เช่น บริเวณทะเลจีนใต้ อ่าวไทย อ่าวตังเกี๋ย ประเทศญี่ปุ่น
                                    - พายุไซโคลน (Cyclone) เป็นชื่อพายุหมุนที่เกิดในมหาสมุทรอนเดียเหนือ เช่น
                                                                                            ิ
                            ่
                     บริเวณอาวเบงกอล ทะเลอาหรับ เป็นต้น แต่ถ้าพายุนี้เกิดบริเวณทะเลติมอร์และทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
                     ของประเทศออสเตรเลียจะเรียกว่า พายุวิลลี-วิลลี (willy-willy)

                                    - พายุโซนร้อน (Tropical storm) เกิดขึ้นเมื่อพายุเขตร้อนขนาดใหญ่  ออนกำลังลง
                                                                                                 ่
                     ขณะเคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วที่จุดศูนย์กลางลดลงเมื่อเคลื่อนเข้าหาฝั่ง
                                    - พายุดีเปรสชัน (Depression) เกิดขึ้นเมื่อความเร็วลดลงจากพายุโซนร้อน

                      ซึ่งก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองธรรมดาหรือฝนตกหนัก
                                  (3)  พายุทอร์นาโด (Tornado) เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อที่เล็ก
                                                                                                      ื่
                     หรือเส้นผ่าศูนย์กลางน้อย แต่หมุนด้วยความเร็วสูง หรือความเร็วที่จุดศูนย์กลางสูงมากกว่าพายุหมุนอน ๆ
                     ก่อให้เกิดความเสียหายได้รุนแรงในบริเวณที่พดผ่านเกิดได้ทั้งบนบกและในทะเล หากเกิดในทะเล
                                                             ั
                     จะเรียกว่า นาคเล่นน้ำ (Water spout) บางครั้งอาจเกิดจากกลุ่มเมฆบนท้องฟ้าแต่หมุนตัวยื่นลงมาจาก

                     ท้องฟ้าไม่ถึงพื้นดินมีรูปร่างเหมือนงวงช้างจึงเรียกกันว่า ลมงวง
                                  (4)  ร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศต่ำ (Intertropical convergence zone)
                     ใช้ตัวย่อ ICZ หรือ ITCZ, Equaltorial trough หรือ Monsoon trough) มีลักษณะเป็นแนวพาดขวาง

                                                       ิ
                     ทิศตะวันตก-ตะวันออกในเขตร้อนใกล้อเควเตอร์ ร่องมรสุมจะเลื่อนขึ้นลงและพาดผ่านประเทศไทย
                     ช้ากว่าแนวโคจรของดวงอาทิตย์ประมาณ 1 เดือน ความกว้างของร่องมรสุมประมาณ 6-8 องศาละติจูด
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31