Page 27 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 27

18



                                  (5)  ลมมรสุมมีกำลังแรง (Strong monsoon) มรสุม คือ ลมประจำฤดู ลมมรสุม
                                                     ุ
                                                                         ื้
                                                               ื้
                     เกิดขึ้นเนื่องจากความแตกต่างระหว่างอณหภูมิของพนดิน และพนน้ำในฤดูหนาวและฤดูร้อน ในฤดูหนาว
                                                                   ื้
                                                                                                      ื้
                                           ื้
                     อุณหภูมิของอากาศเหนือพนทวีปเย็นกว่าอากาศเหนือพนที่มหาสมุทรที่อยู่ใกล้เคียง อากาศเหนือพนน้ำ
                     จึงมีอณหภูมิสูงกว่าและลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่าจึงไหลไปแทนที่ ทำให้เกิดลม
                          ุ
                                                                ื้
                      ั
                                               ุ
                                                                                                        ั
                     พดออกจากทวีปพอถึงฤดูร้อนอณหภูมิของดินภาคพนทวีปสูงกว่าน้ำในมหาสมุทรเป็นเหตุให้เกิดลมพด
                                                                                                 ิ
                                                                ิ
                     ไปในทิศทางตรงกันข้ามประเทศไทย ซึ่งอยู่ในเขตอทธิพลของมรสุม ประเทศไทยจึงอยู่ในอทธิพลของ
                     มรสุม 2 ฤดู คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดประมาณฤดูกาลละ 6 เดือน
                                    - มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest monsoon) มรสุมนี้ก่อให้เกิดอทกภัยได้
                                                                                                  ุ
                                                ิ
                     เนื่องมาจากเมื่อพัดจากมหาสมุทรอนเดียปะทะขอบฝั่งตะวันตกของภาคใต้ และเมื่อผ่านอาวไทยแล้วจะปะทะ
                                                                                          ่
                                       ่
                     ขอบฝั่งตะวันออกของอาวไทย มรสุมนี้เริ่มต้นตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม และสิ้นสุดลงตอนต้นเดือนตุลาคม
                     เมื่อมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แรงจัด ความเร็วของลมอาจจะสูงถึง 30 น๊อต เป็นระยะเวลาหลาย ๆ วัน
                                                                                            ิ
                     คลื่นทางฝั่งตะวันตกของภาคใต้ใหญ่มาก เนื่องจากลมแรงจัดในอ่าวเบงกอลและมหาสมุทรอนเดีย มีช่วงระยะ
                                                    ั
                     ที่ลมเคลื่อนที่ไกลมาก คลื่นและลมจึงพดพาน้ำทะเลในอาวเบงกอลมาสะสมทางขอบฝั่งตะวันตกของภาคใต้
                                                                 ่
                     ตลอดฝั่ง ทำให้ระดับน้ำในทะเลตามขอบฝั่งสูงขึ้นมากจากระดับน้ำทะเลปานกลางในฤดูนี้และในระยะเดียวกัน
                                           ่
                     ถ้าเกิดพายุดีเปรสชันขึ้นในอาวเบงกอลทางฝั่งตะวันตกของภาคใต้ จากความกดอากาศต่ำในบริเวณพายุและ
                     จากฝนที่ตกหนักบนภูเขาและชายฝั่งรวมเข้าด้วยกันแล้ว จะทำให้เกิดระดับน้ำในทะเลและแม่น้ำสูงจน
                     เป็นน้ำท่วมและเกิดอันตรายได้
                                    - มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast monsoon) เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคม
                                     ั
                     ถึงสิ้นเดือนกุมภาพนธ์ ตั้งต้นพดจากประเทศจีนและไซบีเรียผ่านทะเลจีนใต้ปะทะขอบฝั่งเวียดนาม
                                               ั
                     ส่วนที่หลุดจากปลายแหลมอนโดจีนจะพดผ่านอาวไทยตอนใต้ปะทะขอบฝั่งตะวันออกของภาคใต้
                                              ิ
                                                               ่
                                                        ั
                     หรือฝั่งตะวันตกของอาวไทยตั้งแต่ใต้สงขลาลงไป มรสุมนี้มีกำลังแรงจัดเป็นคราว ๆ เมื่อบริเวณ
                                        ่
                     ความกดอากาศสูงในประเทศจีนมีกำลังแรงขึ้น ลมในทะเลจีนใต้มีความเร็วถึง 30-35 น๊อต
                     (52 กิโลเมตร ถึง 64 กิโลเมตร) แต่เนื่องด้วยมรสุมนี้ปะทะขอบฝั่งเวียดนามเป็นส่วนใหญ่ จึงทำให้
                               ั
                     ลมมรสุมที่พดผ่านเข้ามาในอาวนั้น มีช่วงระยะที่ลมเคลื่อนที่ไม่ได้ไกล จึงไม่ได้รับความกระทบกระเทือนมาก
                                            ่
                             ี
                     เป็นแต่เพยงคลื่นค่อนข้างใหญ่และระดับน้ำสูงกว่าปกติแต่ก็ไม่สูงมากนัก ลมที่พัดแหลมญวนและทางใต้
                     ลงไปจะทำให้เกิดผลทางขอบชายฝั่งตะวันออกของภาคใต้ ตั้งแต่ใต้สงขลาลงไปได้มากเช่นเดียวกัน คือ
                     ทำให้เกิดคลื่นใหญ่มาก และระดับน้ำสูงจากปกติมากจนอาจจะเกิดเป็นน้ำท่วมได  ้
                                2)  น้ำจากแหล่งเก็บกักน้ำหรือระบบควบคุม (Control system) เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้ำ
                     ประตูระบายน้ำ ฝายทดน้ำ ฯลฯ โดยสาเหตุใหญ่ ๆ ที่ทำให้น้ำท่วมคือ (1) การระบายน้ำส่วนเกินใน
                     ปริมาณมากทิ้งออกไปเพอให้เกิดความมั่นคงปลอดภัยต่อแหลงเก็บกักน้ำดังกล่าว กรณีนี้จะทำให้เกิด
                                          ื่
                                                                         ่
                                                                                          ั
                             ื้
                     น้ำท่วมพนที่ลุ่มสองฝั่งลำน้ำด้านท้ายน้ำในลักษณะค่อย ๆ ท่วม และ (2) น้ำท่วมอนเกิดจากการวิบัติ
                                                         ่
                     ของระบบควบคุมดังกล่าว เช่น เขื่อนพง อางเก็บน้ำแตก ประตูระบายน้ำไม่อาจทำหน้าที่ได้ กรณีนี้
                                                      ั
                     จะก่อให้เกิดน้ำหลาก มีความรุนแรงมากกว่าน้ำป่าและความเสียหายที่เกิดขึ้นก็มากกว่าเช่นกัน
                                                                   ื้
                                3) น้ำท่วมจากน้ำทะเลหนุน เกิดในพนที่อยู่ติดทะเล ลักษณะการท่วมเกิดจาก
                     ระดับน้ำทะเลยกตัวสูงในช่วงน้ำขึ้นแล้วท่วมพนที่โดยตรงกับน้ำทะเลไหลย้อนเข้าสู่ลำน้ำ เพมระดับน้ำ
                                                                                                 ิ่
                                                           ื้
                                                                               ื้
                                                                    ่
                                                                                                 ุ
                     ในลำน้ำที่ระบายน้ำจากลุ่มน้ำตอนบนขึ้นไปสูงขึ้นจนเออออกท่วมพนที่สองฝั่ง และเป็นอปสรรคต่อ
                     การระบายน้ำของพื้นที่ลุ่มน้ำตอนบนดังกล่าวซึ่งหากเกิดน้ำท่วมในพื้นที่ดังกล่าวอยู่แล้วน้ำก็จะยิ่งท่วมนานยิ่งขึ้น
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32