Page 28 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 28

19



                     3.4  คำจำกัดความ

                                                                            ื
                           น้ำท่วมซ้ำซาก เป็นพฤติกรรมของน้ำที่กระทำต่อพ้นที่ใดพ้นที่หนึ่ง ในลักษณะการท่วมขังบน
                                                                      ื
                     พ้นที่ดินสูงกว่าระดับปกติและยาวนานเป็นประจำ ทั้งนี้สามารถจำแนกการเกิดน้ำท่วมซ้ำซากออกเป็น
                      ื
                     3 ระดับ ดังนี้ ดัดแปลงมาจากชั้นอันตรายจากการถูกน้ำท่วม : flooding คู่มือการจำแนกความเหมาะสม
                     ของดินสำหรับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย (กองสำรวจและจำแนกดิน, 2543)
                           ระดับที่ 1  พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากเป็นครั้งคราว มีน้ำท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                           ระดับที่ 2  พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากบ่อยครั้ง มีน้ำท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี

                           ระดับที่ 3  พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากเป็นประจำ มีน้ำท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี

                           พนที่น้ำท่วมซ้ำซาก หมายถึง พนที่ที่มีการท่วมขังของน้ำบนผิวดินสูงกว่าระดับปกติและ
                                                       ื้
                            ื้
                                                                                    ื้
                     มีระยะเวลาที่น้ำท่วมขังยาวนานอยู่เป็นประจำ จนสร้างความเสียหายต่อพนที่การเกษตร ทรัพย์สิน
                     และ/หรือชีวิต
                           ส่วนใหญ่พนที่ที่เกิดน้ำท่วมมักเป็นพนที่ราบลุ่มต่ำ โดยมีภูมิสัณฐาน (Landform) ประเภทที่ราบ
                                                        ื้
                                   ื้
                                                    ี
                                                              ื้
                     น้ำท่วมถง (Floodplain) ซึ่งฤดูฝนมักมน้ำท่วมขังพนที่เสมอ เนื่องจากปริมาณน้ำที่เกิดจากฝนตกในพนที่
                            ึ
                                                                                                       ื้
                     และ/หรือน้ำจากพนที่ภายนอก เมื่อสะสมรวมตัวกันแล้วมีปริมาณมากเกินความสามารถในการรองรับน้ำ
                                    ื้
                     ของแหล่งน้ำในพื้นที่ (สุชาติ และ เกษร, 2548)
                     3.5  การกำหนดขอบเขตพื้นที่และพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก

                           การกำหนดขอบเขตและระดับการเกิดน้ำท่วมซ้ำซากของประเทศไทย ได้จากการนำเอาปัจจัย
                                                ื้
                                                                      ื้
                     ที่ใช้ในการศึกษา คือ ขอบเขตพนที่ราบน้ำท่วมถึง ข้อมูลพนที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดน้ำท่วมซ้ำซาก และ
                     ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมที่ทำการแปลความหมายเฉพาะบริเวณที่เกิดน้ำท่วมมาซ้อนทับกัน (Overlay)
                     ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์แล้ววิเคราะห์หาความสัมพนธ์ของปัจจัยดังกล่าว โดยวิธีการซ้อนทับข้อมูล
                                                                    ั
                                                                                       ื้
                     หลายชั้นพร้อมด้วยเงื่อนไขตามที่กำหนดไว้ ซึ่งจากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่ามีพนที่น้ำท่วมซ้ำซากของ
                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครพนม

                     จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดยโสธร
                     จังหวัดร้อยเอด จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสกลนคร จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองบัวลำภู
                                ็
                                               ุ
                                                                  ุ
                                                                                   ื้
                     จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดอดรธานี และจังหวัดอบลราชธานี โดยมีพนที่น้ำท่วมซ้ำซากทั้งหมด
                     4,511,889 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.28 ของพนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และร้อยละ 1.41 ของพนที่
                                                        ื้
                                                                                                       ื้
                                                                                                       ื้
                     ประเทศไทย ครอบคลุมพนที่ 283 อำเภอ 1,889 ตำบล (ดังภาพที่ 3.1 และ ตารางที่ 3.2) โดยพนที่
                                          ื้
                                                     ื้
                     น้ำท่วมซ้ำซากเป็นครั้งคราว โดยพบพนที่น้ำท่วมซ้ำซากเป็นประจำ โดยประสบน้ำท่วมขัง 8 - 10 ครั้ง
                     ในรอบ 10 ปี มีพนที่ 122,766 ไร่ (ดังภาพที่ 3.2) พนที่น้ำท่วมซ้ำซากบ่อยครั้ง โดยประสบน้ำท่วมขัง
                                   ื้
                                                                ื้
                     4 - 7 ครั้งในรอบ 10 ปี มีพนที่ 1,069,458 ไร่ (ดังภาพที่ 3.3) และประสบน้ำท่วมไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                                          ื้
                     มีพื้นที่ 3,319,665 ไร่ (ดังภาพที่ 3.4) ซึ่งพบมากทสุดที่จังหวัดนครราชสีมา 562,130 ไร่ รองลงมาได้แก่
                                                              ี่
                     จังหวัดร้อยเอด 403,879 ไร่ และจังหวัดศรีสะเกษ 302,037 ไร่ ตามลำดับ โดยสามารถแบ่งออกเป็น
                                ็
                     รายจังหวัดได้ดังนี้
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33