Page 17 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 17

8




                     ทางเหนือจนจดริมฝั่งแม่น้ำโขงในจังหวัดหนองคาย และเริ่มตั้งแต่ภูกระดึงทางตะวันตก ไปจนจดฝั่งแม่น้ำโขง
                                       ่
                     ในจังหวัดนครพนม แองที่ราบนี้จะสูงทางตอนใต้ ซึ่งติดกับ ภูพานแล้วลาดต่ำ ไปทางเหนือและทางตะวันออก
                                                                        ่
                     แม่น้ำสายต่าง ๆ ที่ไหลผ่านลงสู่แม่น้ำโขง คือ แม่น้ำสงคราม แองน้ำจืด หรือทะเลสาบน้ำจืด คือ หนองหาร
                     ที่จังหวัดสกลนคร กับหนองหาร ที่อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี


                     2.4  ทรัพยากรดิน

                           พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่รวม 105,533,963 ไร่ หรือประมาณหนึ่งในสามของพนที่
                                                                                                       ื้
                     ทั้งประเทศ ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครพนม
                     จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดยโสธร
                                 ็
                     จังหวัดร้อยเอด จังหวัดเลย จังหวัดสกลนคร จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดหนองคาย
                     จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดอดรธานี จังหวัดอบลราชธานี และจังหวัดอำนาจเจริญ รวมทั้งหมด 20 จังหวัด
                                                          ุ
                                             ุ
                     สภาพภูมิประเทศมีลักษณะเป็นที่ราบสูงแยกตัวจากบริเวณภูเขาสูงภาคเหนือและที่ราบภาคกลาง
                                                                              ื้
                     อย่างชัดเจน ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสลับกับที่ดอนแบบลูกคลื่นลอนลาด พนที่ลาดต่ำไปทางตะวันออกเฉียงใต้
                     มีเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาดงพญาเย็นเป็นขอบชันด้านตะวันตก มีเทือกเขาสันกำแพงและ

                     ทิวเขาพนมดงรักเป็นขอบชันทางด้านใต้ พนที่ตอนกลางของภาคมีเทือกเขาภูพานวางตัวทอดยาว
                                                          ื้
                     แบ่งภาคออกเป็น 2 แอ่ง คือ 1) บริเวณตอนเหนือ - แองรับน้ำสกลนคร อยู่ในเขตพนที่จังหวัดสกลนคร
                                                                   ่
                                                                                          ื้
                     นครพนม หนองคาย มุกดาหาร และอดรธานี มีแม่น้ำสายหลัก ได้แก่ แม่น้ำโขง ศรีสงคราม ลำน้ำอน
                                                                                                        ู
                                                     ุ
                                                                ่
                     และลำน้ำสาขาต่าง ๆ และ 2) บริเวณตอนใต้ - แองรับน้ำโคราช มีแม่น้ำสายหลัก ได้แก่ แม่น้ำชี มูล
                     น้ำพอง น้ำเชิญ และลำนำสาขา ประกอบไปด้วยพนที่ของจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ
                                                                   ื้
                                                                                            ็
                                                                      ุ
                     จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอบลราชธานี จังหวัดร้อยเอด จังหวัดยโสธร
                     จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดกาฬสินธุ์ (กรมพฒนาที่ดิน, 2558)
                                                                           ั
                                                         ี
                                                                                                 ี
                           วัตถุต้นกำเนิดดินในภาคตะวันออกเฉยงเหนือจะแตกต่างจากภูมิภาคอน ๆ เนื่องจากมโครงสร้าง
                                                                                    ื่
                     ของชั้นหิน ค่อนข้างราบและเป็นกลุ่มของหินที่เนื้อหยาบที่มีทรายปนมาก ทำให้วัตถุต้นกำเนิดดินเป็น
                     วัสดุเนื้อค่อนข้างหยาบ ดินที่เกิดขึ้นได้รับอิทธิพลของวัตถุต้นกำเนิดดินสูง จึงมีเนื้อดินเป็นพวกดินทราย
                     หรือดินร่วนหยาบ (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2565)

                           ทรัพยากรดินในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย

                           2.4.1  ดินในพื้นที่ราบลุ่ม พนที่ราบลุ่มหรือพนที่น้ำขัง ส่วนใหญ่พบบริเวณที่ราบตะกอนน้ำพา
                                                                 ื้
                                                   ื้
                     ตะพักลำน้ำ ที่ราบระหว่างเนิน สภาพพ้นที่ราบเรียบ ถึงค่อนข้างราบเรียบ ช่วงฤดูฝนมีน้ำแช่ขัง
                                                        ื
                     มีระดับน้ำใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดิน การระบายน้ำค่อนข้างเลวถึงเลว ดินมีสีเทาหรือสีเทาออน และมีจุดประสี
                                                                                          ่
                     ตลอดหน้าตัดดิน ที่บ่งบอกถึงการมีน้ำแช่ขังในดิน ปฏิกิริยาดินส่วนใหญ่ เป็นกรดจัดถึงกรดปานกลาง
                     ความอดมสมบูรณ์ต่ำ ประกอบด้วย 14 กลุ่มชุดดิน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1 4 6 7 15 16 18 19 20 22
                           ุ
                     24 25 และ 59 จำแนกตามกลุ่มเนื้อดินได้ 5 กลุ่ม ดังนี้

                                1) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง หรือ
                     ดินเหนียวส่วนดินล่างเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแป้ง บางบริเวณอาจได้รับอทธิพลของ
                                                                                                 ิ
                     หินปูนหรือหินอัคนีทำให้มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวจัด ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1 4 6 และ 7
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22