Page 18 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 18

9




                                2)  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินร่วนปนทรายแป้ง
                                                                                            ่
                     ส่วนดินล่างเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทราย ได้แก กลุ่มชุดดินที่ 15
                     16 17 18 19 22 และ 59

                                3)  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทราย มีเนื้อดินทั้งบนและล่างเป็นดินทราย หรือดินทรายปนดินร่วน
                     ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 24
                                4)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินตื้น มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียว ส่วนดินล่าง
                     เป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว หรือดินเหนียวปนกับกรวดหรือลูกรัง ปริมาณเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 35
                     โดยปริมาตรภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 25

                                5) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเค็ม พบในบริเวณที่มีหินเกลือรองรับ ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วน
                     ปนทราย ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปนทราย ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 20

                           2.4.2  ดินบริเวณพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง ดินมีช่วงแห้งนาน และดินแห้งติดต่อกันมากกว่า
                                                                                                  ื
                     45 วัน หรือแห้งรวมกันมากกว่า 90 วัน ในรอบปี หากไม่มีระบบชลประทาน การเพาะปลูกพชจะทำได้
                                                                               ั
                     ในเฉพาะฤดูฝนเท่านั้น มีการทำเกษตรกรรมบริเวณสันดินริมน้ำ ตะพกลำน้ำระดับกลางและระดับสูง
                                                                                                     ื้
                                                                                           ื้
                                ื้
                     และบริเวณพนที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน ที่เกิดจากกระบวนการปรับระดับของพนที่ สภาพพนที่มี
                     ตั้งแต่ราบเรียบ ลูกคลื่น เนินเขา มีระดับน้ำใต้ดินอยู่ลึกกว่า 2 เมตร การระบายน้ำดีปานกลาง ดี หรือ
                     ดีมากเกินไป ดินส่วนใหญ่มีสีน้ำตาล สีเหลือง หรือสีแดง และอาจพบจุดประสีเล็กน้อย ปฏิกิริยาดินมี
                                                                               ิ
                                                           ุ
                     ตั้งแต่เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย ความอดมสมบูรณ์ต่ำ มักพบอทธิพลของชั้นวัตถุต้นกำเนิดดิน
                     พวกหินตะกอนในหน้าตัดดิน ประกอบด้วย 20 กลุ่มชุดดิน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 28 29 31 33 35 36 37
                     38 40 41 44 46 47 48 49 52 54 55 56 และ 60 จำแนกตามกลุ่มเนื้อดิน ได้ 4 กลุ่ม ดังนี้
                                1) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง หรือ

                     ดินเหนียว ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแป้ง ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 28 29 31 54
                     และ 55
                                2) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน  มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ร่วนปนทราย ดินร่วนปนทรายแป้ง

                     ส่วนดินล่างเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วนเหนียว
                     ปนทรายแป้ง ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 33 35 36 37 38 40 56 และ 60
                                3)  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทราย มีเนื้อดินทั้งบน และล่างเป็นดินทราย หรือดินทรายปนดินร่วน
                     ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 41 และ 44
                                4) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วมปนทราย หรือดินร่วนเหนียว

                     ส่วนดินล่างเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว หรือดินเหนียวปนกรวดหรือลูกรัง ปริมาณเท่ากับหรือมากกว่า
                                              ึ
                     ร้อยละ 35 โดยปริมาตร หรือถงชั้นหินพื้นหรือชั้นมาร์ล ภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ได้แก  ่
                     กลุ่มชุดดินที่ 46 47 48 49 และ 52 (สถิระ และคณะ, 2558)

                           2.4.3  ดินบริเวณพื้นที่ภูเขาสูง มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35 ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62
                     โดยสถานภาพความอุดมสมบูรณ์ของดิน จากข้อมูลผลการวิเคราะห์ และประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                     ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งสิ้น 31,642 จุด แสดงให้เห็นว่าดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                            ุ
                     มีความอดมสมบูรณ์ในระดับต่ำ คิดเป็นร้อยละ 71.53 ของจำนวนข้อมูลทั้งหมดในภาค ทั้งนี้เนื่องจาก
                     ดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เป็นดินทรายที่มีคุณภาพต่ำ ปริมาณอนุภาคดินเหนียว (Clay particle)

                     และอนทรียวัตถุในดินต่ำ (Soil organic matter) เนื่องจากเป็นดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพงของหินทราย
                                                                                              ั
                          ิ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23