Page 11 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 11

3




                                          ื้
                           1.4.4  วิเคราะห์พนที่น้ำท่วมซ้ำซากด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) โดยวิธีการซ้อนทับ
                     ข้อมูลหลายชั้น พร้อมด้วยเงื่อนไขตามที่ได้กำหนดไว้ โดยวิธีการกำหนดค่าน้ำหนักปัจจัย (Weighting
                     Value) และระดับค่าคะแนน (Rating Value) โดยผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ทั้งนี้ เกณฑ์การให้ค่าน้ำหนัก

                     ปัจจัย และระดับค่าคะแนน ของแต่ละปัจจัยดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ระบุชัดเจนขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ
                                        ิ
                     การวิเคราะห์และการพจารณา สำหรับการกำหนดเกณฑ์น้ำหนัก และระดับค่าคะแนน ปัจจัยที่มีอทธิพล
                                                                                                    ิ
                                                                                        ิ
                                                                    ิ
                     ต่อการเกิดน้ำท่วมซ้ำซากจะพจารณาสรุปจากปัจจัยที่มีอทธิพลสูงไปหาปัจจัยที่มีอทธิพลต่ำ เรียงลำดับ
                                              ิ
                     ตามความสำคัญร่วมกับการใช้ข้อมูลการสำรวจข้อมูลระยะไกล ซึ่งปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์และ
                     กำหนดขอบเขต ประกอบด้วย ข้อมูลเชิงพนที่ (Spatial data) ข้อมูลสถิติ (Statistic data) และข้อมูล
                                                        ื้
                     ภาพถ่ายดาวเทียม ได้แก่ พื้นที่น้ำท่วมจากภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงฤดูฝนในแต่ละปี ลักษณะภูมิสัณฐาน
                     ข้อมูลพ้นที่ราบน้ำท่วมถึง (Floodplain) ข้อมูลประวัติการเกิดอุทกภัยในประเทศไทย ข้อมูลพ้นที่
                                                                                                       ื
                            ื
                     เสี่ยงภัยน้ำท่วม และพื้นที่น้ำท่วมในอดีตที่มีการรายงานโดยหน่วยงานต่าง ๆ
                                การประเมินพ้นที่น้ำท่วมซ้ำซากจะวิเคราะห์โดยการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
                                             ื
                     ทางภูมิสารสนเทศ โดยการซ้อนทับของข้อมูลหลายชั้น พร้อมด้วยเงื่อนไขตามกำหนด เบื้องต้น
                     ดังสมการ (ปรับประยุกต์จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย, 2543) ดังนี้

                                P = (R1 * W1) + (R2 * W2) + (R3 * W3) +… (Rn * Wn)
                                โดย  P   =  พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก

                                       R  =  ค่าคะแนนของปัจจัย (rating value)
                                       W  =  ค่าน้ำหนักของปัจจัย (weighting value)
                                       N  =  จำนวนปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์

                                ในเบื้องต้นของการจำแนกระดับความรุนแรงของโอกาสในการเกิดพนที่น้ำท่วมซ้ำซากใน
                                                                                         ื้
                     พื้นที่แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
                                  ระดับที่ 1  พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากเป็นประจำ มีน้ำท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี
                                  ระดับที่ 2  พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากบ่อยครั้ง มีน้ำท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี
                                  ระดับที่ 3  พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากเป็นครั้งคราว มีน้ำท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                                                                             ื้
                                                                                      ื่
                           1.4.5  สำรวจขอมูลภาคสนามโดยการสุ่มตรวจสอบในสภาพพนที่จริง เพอตรวจสอบความถูกต้อง
                                       ้
                     ของข้อมูลและปรับแก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่อกครั้ง
                                                      ี
                           1.4.6  จัดทำแผนที่แสดงขอบเขตพนที่น้ำท่วมซ้ำซากจำแนกตามชั้นพนที่น้ำท่วมซ้ำซากของ
                                                         ื้
                                                                                      ื้
                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในระดับภาคและระดับรายจังหวัด
                           1.4.7  เสนอแนะ รูปแบบ มาตรการ หรือแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16