Page 10 - พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 10

2




                     1.2  วัตถุประสงค์

                                   ื่
                           1.2.1  เพอประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และข้อมูลสำรวจระยะไกลในการปรับปรุง
                     ขอบเขตและฐานข้อมูลพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้เป็นปัจจุบัน
                                   ื่
                           1.2.2  เพอเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการบริหารจัดการพนที่เกษตรกรรมในพนที่น้ำท่วม
                                                                                ื้
                                                                                                 ื้
                     ซ้ำซากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                     1.3  ระยะเวลาดำเนินการและสถานที่ดำเนินงาน


                           ระยะเวลาดำเนินการ       เริ่มต้น  ตุลาคม    พ.ศ. 2565
                                                   สิ้นสุด  กันยายน   พ.ศ. 2566
                           สถานที่ดำเนินงาน        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (20 จังหวัด)


                     1.4  ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ

                           1.4.1  ตรวจสอบเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวกับน้ำท่วมซ้ำซากในประเทศไทย สถิติของเหตุการณ์

                     การเกิดอุทกภัยที่เคยเกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน

                           1.4.2  รวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมเอกสารและข้อมูลต่าง ๆ ในรูปรายงานและแผนที่ที่เกี่ยวข้อง
                     กับการศึกษาพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังนี้
                                1)  ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมซ้ำซากที่ดำเนินการโดยกรมพัฒนาที่ดินปีพ.ศ. 2559-2560

                                2)  ข้อมูลพื้นที่น้ำท่วมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2565
                                3)  ข้อมูลสถิติทางอตุนิยมวิทยา สถิติปริมาณน้ำฝนรายวัน รายปี จำนวนวันที่ฝนตก
                                                  ุ
                                                                                     ื้
                      ั
                                                           ุ้
                     อตราการระเหยของน้ำ ความสามารถในการอมน้ำของดิน ปริมาณน้ำท่าในพนที่ลุ่มน้ำ ความสามารถ
                                                       ุ
                                    ื้
                     ในการรับน้ำของพนที่ลุ่มน้ำ ลักษณะทางอทกศาสตร์ของลุ่มน้ำ สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความลาดเท
                     ของพื้นที่พจารณาร่วมกับข้อมูลแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง เช่น ปฏิทินการเพาะปลูกพช รูปแบบการเกษตร
                                                                                        ื
                              ิ
                     ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ เป็นต้น
                                4)  แผนที่สภาพการใช้ที่ดินระดับจังหวัด ปี พ.ศ. 2562 มาตราส่วน 1:50,000 กรมพัฒนาที่ดิน
                                5)  แผนที่กลุ่มชุดดิน มาตราส่วน 1:50,000 กรมพัฒนาที่ดิน
                                6)  แผนที่ขอบเขตการปกครองระดับตำบล มาตราส่วน 1:50,000 กรมการปกครอง
                                7)  แผนที่สภาพภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 กรมแผนที่ทหาร
                                8)  แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมสีผสมต่างระบบจากดาวเทียม LANDSAT-8 9  RADARSAT-1
                                                                       ั
                     Sentinel-1A  2B และ COSMO -SkyMed-1 2 4 สำนักงานพฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
                     (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

                           1.4.3  นำเข้าข้อมูลเชิงพนที่ (Spatial data) และปัจจัยร่วมโดยทำการเก็บข้อมูลในรูป Digital
                                               ื้
                     โดยใช้โปรแกรม ArcGIS และ ArcView พกัดอ้างอิงที่ใช้นำเข้าขอมูลใช้โครงสร้างแผนที่แบบ Universal
                                                       ิ
                                                                         ้
                     Transverse Mercator (UTM) ซึ่งเป็นไปตามแผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหาร
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15