Page 28 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 28

19


                        3.3.4 สาเหตการเกิดภยแลง
                                              
                                           ั
                                   ุ
                             ปจจัยที่กอใหเกิดภัยแลงสำหรับประเทศไทยแลว นอกจากฝนยังมีปจจัยอื่นที่เปนองคประกอบ
                           
                                
                                            ุ
                                                                    ่
                                                                                                     ่
                  อีกหลายอยาง เชน ระบบการหมนเวียนของบรรยากาศ การเปลียนแปลงสวนผสมของบรรยากาศ การเปลียนแปลง
                                                                                                         ุ
                  ความสมพันธระหวางบรรยากาศกับน้ำทะเลหรือมหาสมทร ดังนั้นการเกิดภัยแลง จึงมิใชเกิดจากสาเหตใดสาเหตหนึ่ง
                       ั
                                                             ุ
                                                                                                  ุ
                            ี
                                                    ั
                                                      ้
                                                  
                                    ุ
                                              ั
                  เพียงอยางเดยว สาเหตของการเกิดภยแลงดงนี (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2555)
                             1) การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดลอม
                               ประเทศไทยไดรับน้ำฝนจากธรรมชาติ เนื่องจากรองมรสุมหรือรองความกดอากาศตำ
                                                                                                            ่
                   ่
                                                             ื
                                                             ่
                   ี
                        
                                                  ั
                                              ี
                              
                                  ู
                                                                 
                                                                                           ุ
                                                                              ิ
                  ทพาดผานในชวงฤดฝน หากปใดมกำลงออนหรือเคลอนผานเร็วกวาปกต ก็จะเปนสาเหตหนึงทำใหฝนตกนอย
                                                                                              ่
                                                                                                   
                                        ั
                                                            
                                   ี
                                        ่
                  นอกจากนียังมีพายุดเปรสชนและพายุไตฝุนที่ชวยใหฝนตกเปนบริเวณกวาง หากไมมีพายุเคลื่อนเขามาหรือมีนอย
                           ้
                  ก็จะทำใหปริมาณน้ำฝนลดนอยเชนเดยวกัน ซึ่งเปนสาเหตใหเกิดความแหงแลงได นอกจากนี้ปรากฏการณเรือนกระจก
                                                              ุ
                                               ี
                                                                
                                                                                                   
                                                                                                           ั
                  ที่ทำใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมีผลกระทบทำใหน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น ทำใหเกิดอุทกภย
                  และความแหงแลง พื้นที่ที่เคยอุดมสมบูรณจะเกิดการแหงแลงสลับกับการเกิดน้ำทวม อุณหภูมิของผิวน้ำเกิด
                                                                  
                  เปลี่ยนแปลงจึงสงผลทำใหอุณหภมิเหนือน้ำเปลี่ยนไปดวยเชนกัน เปนผลใหเกิดความรอนและความแหงแลง
                                              ู
                                                                                                            
                                                                                                        
                                   ุ
                  ในบริเวณที่เคยมีฝนชก และเกิดฝนตกหนักในบริเวณทเคยแหงแลง ลมพายุเปลี่ยนทศทางเกิดภาวะฝนตกนอย
                                                                                       ิ
                                                               ี่
                  หรือไมตกตามฤดูกาล ฝนทิ้งชวงยาวนานหรือฝนตกไมกระจายอยางสม่ำเสมอ ทำใหมีปริมาณน้ำเก็บกัก
                                                ่
                                                                                         ิ
                                                                 ื
                  ในอางเก็บน้ำนอย โดยเฉพาะอยางยิงอางเก็บน้ำเหนือเข่อนตาง ๆ นอยลงไปจากปกตมาก เกิดการขาดแคลน
                                             
                  ในพื้นที่ชลประทานเพื่อการเกษตรและเพื่อการอุปโภคบริโภค
                                                   ิ
                                                    ื
                                                    ้
                             2) แหลงน้ำตามธรรมชาตตนเขิน
                                    
                                                                
                                                                                                    ื
                                                                  ู
                                                                         ู
                                                                                                  
                                                                                          ุ
                                                                                                    ้
                                                                         
                                                                             ิ
                                                   ิ
                               แหลงน้ำตามธรรมชาตขาดการเอาใจใสดแลจากผรับผดชอบหรือจากชมชนทำใหตนเขิน เชน
                                    
                                                                                                     
                  เกิดการชะลางพังทลายของดิน สาเหตุอันเนื่องมาจาก การทำการเกษตรผิดวิธี การใชประโยชนที่ดินไมเหมาะสม
                  การบุกรุกทำลายปา ดินและตะกอนดินที่ถูกชะลางลงสูแหลงน้ำนั้นจะทำใหเกิดตะกอนทับถมตามแมน้ำ ลำคลอง
                                                              
                                             ื้
                  จึงทำใหแหลงน้ำตามธรรมชาติตนเขิน ประสิทธิภาพในการเก็บกักน้ำลดลง ซึ่งนำไปสูปญหาการขาดแคลนน้ำ
                  ที่ตามมา และยังเปนผลเสียตอการดำรงชีวิตของสัตวน้ำ
                             3) การทำลายปาตนน้ำลำธารและแหลงน้ำตามธรรมชาต   ิ
                                             
                                                             
                                                                                                       
                               ปจจุบันปาไมซึ่งเปนแหลงตนน้ำลำธารถูกทำลาย พื้นที่ปาไมของประเทศลดลงอยางตอเนื่อง
                  ทำใหเกิดปญหาตามมาอีกมากมาย เนื่องจากเมื่อฝนตกน้ำฝนบางสวนจะถูกตนไมในปาดูดซับไว แลวคอย ๆ
                                   ู
                                                                                                        ี่
                  ปลดปลอยใหไหลลงสผิวดิน อีกสวนหนึ่งจะซึมลงสูดินชั้นลาง การปลูกปาบริเวณพื้นที่ตนน้ำ หรือบริเวณพื้นทภูเขา
                                                                
                  เพื่อใหตนไมเปนตัวกักเก็บน้ำตามธรรมชาติทั้งบนดินและใตดิน แลวปลดปลอยออกมาอยางตอเนืองตลอดป
                                                                                                             
                                                                                                    ่
                                    
                  จะสามารถลดการชะลางพังทลายของดนได ลดการกัดเซาะหนาดนทอุดมสมบูรณ ลดปญหาการขาดแคลนน้ำ
                                                                           ่
                                                  ิ
                                                                           ี
                                                      
                                                                        ิ
                                                                                     
                                                                                                     ิ
                                                                                                          
                  เนื่องจากตนไมชวยชะลอการไหลของน้ำบนผิวหนาดินทำใหมีน้ำไหลตลอดป และการมีปาไมปกคลุมดนจะชวย
                                                                                
                  ปองกันการกัดเซาะไดดีกวาปลูกพืชชนิดอื่น ๆ  นอกจากนี้ ยังมีการบุกรุกพื้นที่แหลงน้ำตามธรรมชาติ มีการถม
                  ค คลอง หรือทางน้ำตามธรรมชาติ ทำใหพื้นที่เก็บกักน้ำเพื่อใชประโยชนลดลง
                   ู
                             4) การใชประโยชนที่ดินไมเหมาะสมกับปริมาณน้ำที่มีอยู
                               จากการขยายพื้นที่เกษตรกรรมและมีการใชตอเนื่องตลอดปเพื่อการเพิ่มผลผลิต ทำใหมีการ
                                                                                                           
                              ึ้
                                                          ุ
                                                                                                     
                                             
                  ใชน้ำเพิ่มมากขน โดยเฉพาะพื้นที่ตนน้ำ จึงเปนเหตใหมีปริมาณน้ำทาไหลลงอางเก็บน้ำ หรือปริมาณน้ำทาตอนลาง
                                                                        
                  ลดลง ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิดการขาดแคลนน้ำในพื้นที่ตอนลางกอใหเกิดความเสียหายอยางรุนแรงทั้งดานการเกษตร
                                                                                       
                  การอุตสาหกรรม และความรุนแรงอาจเพิ่มมากขึ้นไมเฉพาะในฤดูแลงเทานั้น ดังนั้นการใชประโยชนที่ดินจึงตอง
                                                                                          
                  คำนึงถึงประเภทของการใชที่ดินและปริมาณน้ำที่ตองการ เพื่อปองกันไมใหผลผลิตเกิดความเสียหายและ
                  เกิดการขาดแคลนน้ำ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33