Page 26 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 26

17


                                    ่
                        3.2.3 การเคลือนที่ของความชื้นในดิน
                                                                                              ็
                                                                                                ิ
                                                                                
                             เมื่อใหน้ำแกพืชผิวดินหรือเมื่อมีฝนตกน้ำจะไหลซึมเขาไปในชองวางระหวางเมดดนและตามรอย
                                   
                                                                                                           ิ
                                      ่
                                                                                                         ิ
                  แตกระแหงหรือรูโพรงทีเกิดจากการเนาผุของรากพืช อันเนื่องจากการเตรียมดินการไหลซึมของน้ำจากผวดน
                  เขาไปในดินนี้เรียกวา การซึมผานผิวดิน (infiltration) ซึ่งจะแตกตางจากการซึมลึก ภายในดินหรือเรียกวา
                  percolation
                             หลังจากทีน้ำซึมผานผิวดินจะไหลตอไปตามชองของดินดวยแรงดึงดูดของโลกและแรงดูดซับ
                                      ่
                  (capillary) ตามชองวางขนาดเล็ก อัตราทีน้ำบนผิวดินไหลซึมเขาไปในดินตอหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา
                                                       ่
                                                                                                      ึ
                  infiltration rate หรือ intake rate อัตราดังกลาวขึ้นอยูกับองคประกอบหลายอยางดวยกัน เชน ความลกของน้ำ
                                                                          ิ
                  ที่ขังอยูบนผิวดิน ลักษณะโครงสรางของดิน เนื้อดิน อุณหภูมของน้ำและอุณหภูมของดิน ตลอดจน
                                                                                             ิ
                                                           
                  ปริมาณความชื้นที่มีอยูในดิน ในตอนแรกที่มีการใหน้ำแกดิน อัตราการซึมผานผวดินจะสูง เนื่องจากผิวดินยังแหง
                                                                                                            
                                                                                  ิ
                  เมื่อดินชั้นบนเริ่มอิ่มตัว อัตราการซึมผานคอย ๆ ลดลง และในที่สุดก็จะถึงจุดหนึ่งซึ่งอัตราการผานผิวดน
                                                                                                           ิ
                                                                         
                                                     
                  จะมีคาคงที่ตลอดไปจนกวาจะหยุดการใหน้ำคาที่เกือบคงที่ดังกลาวนี้ประมาณเทากับความสามารถใหน้ำซึม
                        
                   
                                           ิ
                                              ้
                  ผานได (permeability) ของดนนันเอง
                                                       ู
                                                                  ่
                                                                  ื
                                                                                                           ื
                                              
                                                     ึ
                                                                                                 ั
                                                                                                    ี่
                                                                                                        ื
                                                                                     
                                                                      ั
                                                                                  ิ
                             หลังจากทน้ำที่ไหลดวยแรงดงดดของโลกเคลอนตวออกไปจากดนแลว ศักยภาพหลกทเหลอก็คอ
                                      ี่
                                                                                                    ั
                  ศกยภาพดดซึม (capillary potential) การไหลจะมีทิศทางจากบริเวณที่มีศักยภาพสูงไปยังบริเวณที่มีศกยภาพตำ
                           ู
                                                                                                            ่
                   ั
                                                                                           
                                                                    
                  อัตราการไหลก็จะขึ้นอยูกับความแตกตางของศกยภาพดงกลาวดวย ซึ่งหากมีความแตกตางมาก อัตราการไหล
                                                         ั
                                                                       
                                                                ั
                  จะมากหรือเร็วและในทางตรงกันขามหากความแตกตางมีนอย อัตราการไหลก็จะชาหรือนอยตามไปดวย
                                                                                                           ้
                  คาการนําน้ำจะสูงขึ้น หากมีปริมาณความชื้นในดินมากขึ้น และจะลดลงเมื่อขนาดชองวางในดินใหญขึน
                  การเคลื่อนที่ดวยแรงดดซึมของน้ำในดินจะมีอัตราชาลงหากดนแลงและจะมคานอยทสุดในดินซึ่งมีเม็ดละเอียด
                                                                                ี
                                                            
                                                                                        ี่
                              
                                                                    ิ
                                    ู
                  มากหรือพวก fine grain นั้นเอง
                                        
                        3.2.4 ปจจัยที่มีผลตอความชื้นในดิน
                             ปจจัยที่มีผลตอปริมาณของความชื้นในดิน คือการซึมของน้ำ หรือการเคลื่อนยายน้ำลงดิน ซึ่งน้ำท ี่
                  มีการซึมลงดินนี้เองจะเปนสวนหนึ่งของความชื้นในดิน กลาวคือถาปริมาณการซึม น้ำมีมากก็จะทำใหมีปริมาณ
                                                                                                     
                                                                                                       ้
                  ความชื้นเพิ่มขึ้นในดินไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นปจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของความชืนในดน
                                                                                                           ิ
                                                                  ู
                                                                                     ิ
                  ไดแก กระบวนการตกตะกอน ปริมาณแสงอาทตย สภาพภมประเทศ สมบัตของดน โครงสรางดน อินทรียวัตถุ
                                                                                ิ
                                                                    ิ
                                                           
                    
                                                                                                 ิ
                                                         ิ
                  ในดน ความลึกของดินจนถึงชั้นหิน แข็ง ชนิดและความหนาแนนของพืชพรรณที่ปกคลุมดิน ความลึกของระดบ
                     ิ
                                                                                                           ั
                  น้ำใตดิน และ ปริมาณน้ำฝน (เกษม, 2551; อมลรัตน, 2544) ฤดูกาลเปนสาเหตุหนึ่งททำใหความชื้นในดน
                                                                                           ี
                                                                                                           ิ
                                                                                           ่
                                                 ู
                                                                                              ี่
                                                                 ู
                  เปลี่ยนแปลงไป ความชื้นในดินชวงฤดแลงนอยกวาชวงฤดฝน ในทุกพื้นที่ที่ศึกษาและการเปลยนแปลงปริมาณ
                                                    
                                          
                                  
                                           ่
                                                         
                                                              ู
                  ความชื้นในดินในแตละการใชทีดน และยังขึ้นอยูกับฤดกาล (สรินทร, 2525)
                                                                    ุ
                                  
                                             ิ
                  3.3  พื้นที่เสี่ยงภัยแลง
                        พื้นที่เสี่ยงภัยแลง หมายถึง พื้นที่มีโอกาสเปนแหลงทีไดรับผลกระทบจากปรากฏการณใดปรากฏการณหนึ่ง
                                                                  ่
                                                                                             
                                                                                                         
                                               ่
                                                                                                           ่
                                                                                                           ี
                                                                   ี
                                                                   ่
                                                                ้
                  โดยเปนแหลงที่มีปริมาณน้ำฝนลดตำกวาเกณฑปกติในพืนท หรือการเกิดสภาวะการขาดน้ำ อันมาจากการทม ี
                  ฝนนอยกวาปกติ หรือฝนไมตกตามฤดูกาล มีความแหงแลงที่ แตกตางกัน ทั้งความรุนแรง ระยะเวลา และพื้นท ี่
                  ครอบคลุมความแหงแลง ทั้งนี้ กอใหเกิดปญหาตาง ๆ ตอประชากรและสิ่งมีชีวิต ทั้งทางตรงและทางออม
                        อุตุนิยมวิทยา หมายถึง ศาสตรที่วาดวยปรากฏการณของภูมิอากาศ ในที่นี้หมายถงขอมูลอันเกี่ยวเนื่อง
                                                                                           ึ
                                                                   
                                                                                             
                  กับปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ โดยครอบคลุมสถิติอุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ หยาดน้ำฟา ปริมาณอนุภาคใน
                                      
                                                        ่
                                             
                                                     ้
                  บรรยากาศ และการวัดคาเฉลยตาง ๆ ในพืนทเปนเวลานาน
                                          ี
                                          ่
                                                        ี
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31