Page 23 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 23

บทที 3
                                                                 ่
                                                         ผลการศึกษา


                  3.1  ความชื้นในดิน
                        ดินประกอบดวย 3 สถานะ คือ สวนที่เปนของแข็งหรือเนื้อดินที่ประกอบดวย แร (mineral matter)

                  และสารอินทรียวัตถุ (organic Matter) สวนที่เปนของเหลวที่ประกอบดวยน้ำ (water) สวนที่เปนกาซ
                          
                                                                                               
                                                                                         ิ
                                                                                                           ิ
                                                                                                      ื
                                                                                                      ้
                                                                       
                                                                     ี่
                  ประกอบดวยอากาศ (air) และไอน้ำ (water vapor) ดังนั้นสวนทเปนของเหลวหรือน้ำในดน จะเปนความชนในดน
                                                            ู
                  (soil moisture) คือ ปริมาณน้ำที่ถูกอนุภาคของดินดดยึดไว ทำใหน้ำที่แทรกซึมลงในดินยังคงคางอยูตามชองของ
                                                                                                       
                  เนื้อดิน (capillary water) หรือเคลือบเปนฟลมรอบอนุภาคดิน (hygroscopic water) ถาในสวนของชองวาง
                                                                                           
                                                                                      
                                                                                                         ้
                                                                                                     ิ
                  ในเนื้อดินมีน้ำอยูเต็มไมมีกาซอยูเลยเรียกวา ดินที่อิ่มตัวดวยน้ำ (saturated soil) แตถาในชองวางของดนมทงน้ำ
                                                                                                        ี
                                                                                                         ั
                                                                                           
                  และกาซอยูดวยเรียกวา ดินที่ไมอิ่มตัว (unsaturated soil) ความชื้นในดินที่มีประโยชนตอพืชจะมากหรือนอย
                  ขึ้นอยูกับเนื้อดินเปนหลัก พบวาความชื้นในดินที่มีประโยชนตอพืชของดินเหนียวที่เปนดินเนื้อคอนขางละเอียด
                                                                                                    
                                                                                                
                  จะมีชวงกวางกวาดินรวนและดินทราย ถาเนื้อดินเปนดินทรายการใหน้ำตองบอยครั้งมากกวาดินรวนและดินเหนียว
                        ความชื้นของดิน ตามความหมายของปทานุกรมปฐพีวิทยา คือ น้ำซึ่งถูกดูดซับบนผิวอนุภาคดินหรือ
                  ขังอยูชั่วคราว หรืออยูในสภาวะไอน้ำในชองวางระหวางอนุภาคดิน น้ำเหลานี้ทำใหสามารถหมดได เมื่ออบท ่ ี
                  อุณหภูมิ 105 - 110 องศาเซลเซียส ไมนอยกวา 25 ชั่วโมง (คณะกรรมการจัดทำปทานุกรมปฐพีวิทยา, 2541)
                  สำหรับความชื้นของดินตามความหมายคณาจารยภาคปฐพีวิทยา (2541) หมายถึง น้ำในดิน อยูในรูปของน้ำเหลว
                  ในดิน ซึ่งมีบทบาทตอการเจริญเติบโตของพืชอยางมากเมื่อเทียบกับสวนที่อยูในรูปของไอน้ำ
                        พงษสันติ์ (2543) กลาวถึงความชื้นของดิน เปนสัดสวนของปริมาณน้ำที่ถูกดึงดูดอยูตามชองวางหรือ
                                                                                                    
                                                                                                        ิ
                  เคลือบอยูรอบ ๆ อนุภาคดินกับปริมาณทั้งหมดของดินนั้น ซึ่งจะมีหนวยแสดงเปนความชื้นของดินโดยมวลดนแหง
                  หรือความชื้นของดินโดยปริมาตรทั้งหมดของดิน หรือความชื้นของดินโดยระดับความสูงของน้ำ
                  3.2  ชนิดของน้ำและความชื้นในดิน

                        3.2.1 น้ำในดน
                                   ิ
                              การเรียงตัวของเม็ดดินทำใหเกิดชองวางที่มีขนาดและรูปรางตาง ๆ ขึ้น เมื่อฝนตกหรือใหน้ำแกพืช
                                                                               
                                                                                                     
                                                    
                  น้ำจะแทรกตัวเขาไปอยูตามชองวางเหลานี้และเกาะติดกับเม็ดดินดวยแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของดินและน้ำ
                  (adhesive force) และแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของน้ำดวยกัน (cohesive force) ซึ่งรวมเรียกวา แรงดูดซับ
                                                                            
                                                                                        ่
                                                                                           ั
                                                                                             
                                                                                
                                                                                   ิ
                                                                                      ้
                                                  ี
                                                            ็
                                                  ่
                                  
                                          
                                                               ุ
                                                                 
                  (capillary force) ถาหากน้ำเขาไปแทนทอากาศจนเตมทกชองวาง เรากลาวไดวาดนนันอิมตวดวยน้ำ (saturated)
                  และน้ำที่อยูในชองวางนั้นทั้งหมดจะเปนปริมาณสูงสุดที่ดินจะเก็บกักเอาไวไดถาไมมีแรงจากภายนอกมากระทำ
                  แตเนื่องจากวาสสารทุกชนิดที่อยูบนพื้นผิวโลกจะถูกแรงดึงดูดของโลกกระทำอยูตลอดเวลารวมถึงน้ำทขงอยูใน
                                                                                                       ั
                                                                                                      ี่
                                                                    ู
                  ชองวางระหวางเม็ดดินดวย ในชองวางที่มีขนาดใหญแรงดึงดดระหวางน้ำกับชองวางระหวางเม็ดดนจะนอยกวา
                                                                                                  ิ
                                                         ี
                  ชองวางขนาดเล็กดังนั้นเม่อแรงดึงดูดดังกลาวมคานอยกวาแรงดึงดูดของโลก น้ำในดิน ก็จะมีการไหลออกนอก
                                       ื
                  ชองวางและไหลลงไปยังที่ต่ำกวาซึ่งเรียกวา น้ำอิสระ (gravitation water หรือ free water) เมื่อฝนหยุดตกหรือ
                                                           ู
                                                                                                         
                                                                                                          ี
                  หยุดการใหน้ำแกพืช น้ำที่อยูในชองวางขนาดใหญจะถกระบายออกโดยใชเวลา 2 - 3 วัน ในดินที่มีการระบายน้ำไดดน้ำ
                  อิสระจะถูกระบายออกไปหมดกอนที่จะเปนอันตรายตอพืชและจะมีอากาศเขามาแทนที่ สวนน้ำที่มีในชองวาง
                  ขนาดเลกซึงไมถูกระบายออกดวยแรงดงดดของโลก อาจจะมการระบายออกดวยแรงดดซับ (capillary water)
                                                                                         ู
                                                  ึ
                                           
                                                                    ี
                                                                                  
                                                    ู
                              
                         ็
                           ่
                  ซึ่งจะมีการเคลื่อนที่ชามาก ซึ่งชากวาน้ำอิสระและจะมีทิศทางไปทางใดก็ไดโดยจะเคลื่อนที่ไปสูจดที่มีแรงดดซับ
                                                                                                         ู
                                                                                                ุ
                                                                   ่
                                                                   ี
                  มากที่สุดเสมอและเปนน้ำที่รากพืชสามารถดูดไปใชได (ภาพท 7)
                                                            
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28