Page 24 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 24
15
Saturation
Gravitational Water
Field Capacity
Available Moisture Capillary Water
Permanent Wilting Point Hygroscopic Water
Unavailable Moisture
ภาพที่ 6 การแบงระดับชั้นของน้ำและความชื้นในดิน
ที่มา: กรมชลประทาน (2554)
่
การสูญเสียน้ำโดยการระเหยจากผิวดินและจากทีพืชดูดเอาไปใชจะทำใหปริมาณความชื้นในดน
ิ
ลดลงจนกระทั่งถึงจุด ๆ หนึ่งที่น้ำในดินไมมีการเคลื่อนที่อีก ทั้งนี้เพราะวาแรงที่น้ำหรือความชื้นจับยึดแนน
เปนแผนบางๆรอบเมดดินมมากจนพืชไมสามารถดูดไปใชได พืชก็จะเหี่ยวเฉาและถาหากไมมการใหน้ำแกพืช
ี
็
ี
ในตอนนี้แลวพืชก็จะตายซึ่งน้ำยึดติดแนนกับเม็ดดินและไมสามารถทจะทำใหเคลื่อนที่ไดดวยแรงดงดดของโลก
ึ
ู
ี่
หรือแรงดูดซับซึ่งเรียกวา น้ำเยื่อ (hygroscopic water )
3.2.2 ความชื้นในดิน
ิ
ื
ความชนในดนสามารถแบงออกไดเปน 3 ชนิด คอ
ื
้
1) ความชื้นชลประทาน (field capacity) หลังจากทีน้ำอิสระ ไดถูกระบายออกจากชองวางขนาด
่
ใหญหมดแลวความชื้นในดินจะมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก จะคงเหลืออยูแตน้ำที่ดินสามารถดูดซับไวไดเต็มท ่ ี
(capillary water) ซึ่งเรียกวา ความชื้นชลประทาน หรือน้ำที่ดินสามารถดูดซับไวไดที่ระดับแรงดัน 1/3 บาร หรืออีก
ี
ึ
้
นัยหนึ่งในชองวางของดินทดดซับน้ำไวนีจะมแรงดงดูดประมาณ 1/3 บาร ดานการปฏบัตในแปลงศกษาทดลอง
ึ
ิ
ี่
ู
ิ
ื่
คาความชื้นชลประทานนี้ ไมสามารถหาหรือคำนวณออกเปนคาที่แนนอนได ทั้งนี้เนื่องจากวายังมีการเคลอนท ี่
ั
ี่
ี
ของน้ำทดินสามารถดดซับอยูตลอดเวลา ดังนั้นจึงถือวาปริมาณความชื้นในดินที่มีการระบายน้ำไดดีหลงจากทมี
่
ู
ฝนตกหนักหรือ หยุดใหน้ำแลว 2 – 3 วัน จะเปนความชื้นที่ระดับความชื้นชลประทาน
2) ความชื้นที่จุดเหี่ยวเฉาถาวร (Permanent Wilting Point; PWP) ความชื้นในดินที่พืชไมสามารถ
ดูดมาใชไดเพียงพอสำหรับการคายน้ำและหลังจากนั้นพืชจะเริ่มมการเหี่ยวเฉาอยางถาวรเรียกวา ความชื้นท ี ่
ี
จดเหยวเฉาถาวร หรืออีกนัยหนึ่งคือปริมาณน้ำที่ดูดซับไวดวยแรงดึงดูด 15 บาร
ี
่
ุ