Page 25 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 25
16
ื
่
้
้
ื
ี
ิ
่
ุ
ี
ตารางที่ 4 ความชนชลประทานและความชนทจดเหยวเฉาถาวรของดนชนิดตาง ๆ
ความชนชลประทาน ความชื้นที่จุดเหี่ยวเฉาถาวร
ื
้
(Field Capacity; FC) (Permanent Wilting Point; PWP)
เนื้อดิน
็
เปอรเซนตโดยน้ำหนัก เปอรเซนตโดยน้ำหนัก
็
ของดินแหง ของดินแหง
ิ
ดนทราย (sandy) 6 – 12 2 – 6
ิ
ดนรวนปนทราย (sandy loam) 10 – 18 4 – 8
ดนรวน (loam) 18 – 26 8 – 12
ิ
ิ
ดนรวนปนดนเหนียว (clay loam) 23 – 31 11 – 15
ิ
ดนเหนียวปนตะกอนทราย (silty clay) 27 – 35 13 – 17
ิ
ิ
ดนเหนียว (clay) 31 – 39 15 – 19
ที่มา: กรมชลประทาน (2554)
่
ี
3) ความชื้นที่พืชสามารถนำไปใชได (Available Moisture; AM) น้ำในรูปของความชื้นในดินทพืช
นำไปใชในการเจริญเติบโตคือ capillary water ที่อยูระหวาง field capacity และ permanent wilting point
ดังนั้นผลตางระหวางคาความชื้นในดินทั้งสองนี้ก็คือ ความชื้นที่พืชสามารถนำไปใชได
่
ี
ิ
ตารางที่ 5 ความสามารถในการเก็บน้ำทเปนประโยชนตอพืชของดนตางๆ
ความสามารถเกบน้ำทพืชสามารถนำไปใชประโยชนได
็
่
ี
เนื้อดิน
ิ
ิ
ิ
ความลึกของน้ำเปนมลลิเมตร / ความลึกของดน 1 เซนตเมตร
ี
่
ิ
ดนทราย (Sandy) 0.50 – 1.00 เฉลย 0.7
ิ
ดนรวนปนทราย (Sandy Loam) 1.00 – 1.50 เฉลย 1.2
่
ี
ดนรวน (Loam) 1.20 – 1.90 เฉลย 1.5
ี
่
ิ
ิ
ดนรวนปนดนเหนียว (Clay Loam) 1.50 – 2.10 เฉลี่ย 1.8
ิ
ดนเหนียว (Clay) 1.30 – 2.50 เฉลี่ย 1.9
ิ
ที่มา: กรมชลประทาน (2554)
ื้
ี่
ความชื้นในดินชวงจากความชื้นชลประทานถึงความชื้นทจุดเหี่ยวเฉาถาวร เปนชวงความชนทพืช
ี่
ุ
ี่
สามารถนำไปใชไดซึ่งหมายความวา ถาดินในเขตรากยังมีความชื้นอยูเหนือระดบความชื้นที่จดเหยวเฉาถาวรแลว
ั
พืชสวนใหญจะยังไมมีการเหี่ยวเฉาในขณะที่ความชื้นลดลง แตพืชบางชนิดที่ตองการน้ำมากหรือมีความไว
ื้
ิ
ั
ตอการขาดน้ำสูงก็จะเริ่มมีอาการดังกลาวใหเห็น อยางไรก็ตามในทางปฏิบติแลวจะไมยอมใหคาความชนในดน
้
ึ
่
ลดลงเขาใกลจุด PWP เปนอันขาดทั้งนี้เพราะวาเมือความชื้นในดินลดลงพืชจะใชแรงดูดน้ำในดินเพิ่มมากขน
ถาหากอัตราที่รากพืชดดน้ำไดนอยเกินไป การเจริญเติบโตของพืชจะหยุดชะงัก ผลผลิตลดลง ซึ่งวิธีการทีถกตอง
ู
่
ู
ควรเริ่มใหน้ำแกพืชเมื่อความชื้นในดินลดลง 25 - 50 เปอรเซ็นตของความชื้นที่พืชสามารถนำไปใชไดทั้งนี ้
ขึ้นอยูกับชนิดและอายุของพืชเปนสำคัญดวย