Page 27 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 27

18


                        3.3.1 ประเภทของภัยแลง
                                                                                                            
                                                                                   
                                                                                                  ่
                             พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ราชบัณฑิตยสถาน กลาวโดยทั่วไปไดวาเปนชวงเวลา ซึงอากาศแหง
                                                                                                           ้
                                                                                                         
                  ผิดปกติหรือขาดฝน ทำใหเกิดการขาดแคลนน้ำใชและพืชผลตาง ๆ เสียหาย ความรุนแรงของชวงฝนแลงนัน
                  ขึ้นอยูกับความชื้นในอากาศ ระยะเวลาที่เกิดความแหงแลง และความกวางใหญไพศาลของบริเวณพื้นที่ที่ม ี
                  ความแหงแลง รายละเอียดดังนี้ (สำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา, 2555)
                            
                                                                                                           ิ
                             1) ความแหงแลงเชิงอุตุนิยมวิทยา หมายถึง ปริมาณฝนโดยเฉลี่ยจะมีปริมาณนอยกวาเดม
                  เมื่อเปรียบเทียบกับชวงระยะเวลายาวนานในอดีตที่ผานมา
                             2) ความแหงแลงภาคทางอุตุนิยมวิทยาเกษตร หมายถึง พิจารณาถึงความชื้นในดินพอเพียงท ่ ี
                  สามารถจะนำไปใชประโยชนสำหรับพืช โดยจะพิจารณาจากผลผลิตที่ไดจากการเพาะปลูก เปรียบเทียบกับ
                  สภาวะที่พืชใชน้ำปกติ ถาผลผลิตที่ไดมีปริมาณนอยกวาโดยเฉลี่ยแลวก็คงเพราะสาเหตุของการขาดแคลนน้ำ

                             3) ความแหงแลงเชิงอุทกวิทยา หมายถึง ความแหงแลงที่เกิดจากชวงฤดูกาลที่มีปริมาณฝนตกนอย
                                                                                                         ั
                  หรือไมมีฝนตก ทำใหระดับน้ำผิวดินและน้ำใตดินคือ น้ำในแมน้ำ อางเก็บน้ำ ทะเลสาบ และน้ำบาดาลลดระดบลง
                  ซึ่งความแหงแลงเชิงอุทกวิทยานี มักจะพิจารณาในระดับของลุมน้ำ ความแหงแลงเชิงอุทกวิทยาเปนปญหาท ่ ี
                                             ้
                  เกิดขึ้นอยางชา ๆ ตางจากความแหงแลวเชิงอุตุนิยมวิทยา และความแหงแลงเชิงเกษตรกรรม

                             4) ความแหงแลงเชงเศรษฐศาสตรและสงคม หมายถึง ความแหงแลงที่เกี่ยวของกับทรัพยากรที่มีอยู
                                       
                                          
                                                             ั
                                             ิ
                                                ่
                  และความตองการทรัพยากรนั้น แตเนืองจากความจำกัดของทรัพยากร และประชากรมีความตองการทรัพยากรมาก
                  จึงทำใหเกิดความขาดแคลนขึ้น ซึ่งความแหงแลงทางเศรษฐศาสตรและสังคม จะแตกตางออกไปจากความแหงแลงอื่น ๆ
                  เนื่องจากมีเรื่องของความตองการใช และความจำกัดของทรัพยากรเขามาเกี่ยวของ ซึ่งโดยปกติแลวความตองการ
                                                                                                       
                                       
                                                                         
                                                                                  ่
                                                                            ่
                                                                              ้
                                                                                          
                  ทรัพยากรจะเพิ่มขึ้น ตามจำนวนประชากรและความตองการบริโภคเพิมขึน ซึงความแหงแลงเชงเศรษฐศาสตร
                                                              
                                                                                             
                                                                                                ิ
                  และสังคม จะเกิดขึ้นจนกวาการเพิ่มขึ้นของประชากร และความตองการบริโภคจะปรับตัวเขาหากันจนเกิด
                  ความสมดุล
                        3.3.2 ระดับความรุนแรงของความแหงแลง
                             ความรุนแรงของความแหงแลงมีความสัมพันธสอดคลองกับสภาวะฝนแลงหรือความแหงแลงของ
                                                                                                        
                                                                                                     
                  ลม ฟา อากาศ ซึ่งเกิดจากการมีฝนตกนอยกวาปกติ หรือฝนไมตกตามฤดูกาลทำใหเกิดการขาดแคลนน้ำ
                                                                                                             ิ
                  ใชพืชพันธุตาง ๆ ขาดน้ำหลอเลี้ยงขาดความชุมชื้น ทำใหพืชผลไมสมบูรณหรือเจริญเติบโตใหผลตามปกต
                                                                 ั
                              ี
                                      ั
                  แตเกิดความเสยหายระดบความรุนแรง แบงไดเปน 3 ระดบ (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2561)
                    
                                                        
                             1) ความแหงแลงอยางเบา เปนสภาวะความแหงแลงที่มีฝนตกเฉลี่ยไมถึงวันละ 1 มิลลิเมตร
                                                                             ึ
                  เปนเวลาตอเนื่องกันถึง 15 วัน ในชวงฤดูฝนความแหงแลงแบบนี้เกิดข้นตามภาคตาง ๆ ในประเทศไทยเสมอ
                         
                  ในตอนตนฤดูฝนระหวางเดอนมิถุนายนและกรกฎาคม
                                        ื
                             2) ความแหงแลงปานกลาง เปนชวงฝนแลงที่มีฝนตกในฤดูฝนเฉลี่ยไมเกินวันละ 0.25 มิลลิเมตร
                                                                                                           
                  เปนเวลานานตอเนื่องกันไมนอยกวา 29 วัน ความแหงแลงแบบนี้เกิดขึ้นถึงขั้นขาดแคลนน้ำมีผลกระทบตอ
                  การเกษตรความเปนอยของประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศ แตไมคอยไดเกิดขนในประเทศไทยบอยนัก
                                                                                                 
                                                                       
                                    ู
                                                                               
                                                                         
                                                                          
                                                                                   ้
                                 
                                    
                                                                                   ึ
                                                                                     
                                                                                 ู
                                                                      ี่
                             3) ความแหงแลงอยางรุนแรง เปนความแหงแลงทฝนไมตกในฤดฝนตอเนื่องกันไมนอยกวา 15 วัน
                                                                                                        
                  หรืออาจมีตกบางแตไมมีวันใดที่มีฝนตกถึง 0.25 มิลลิเมตร นับเปนภัยธรรมชาติที่รุนแรงที่สุดมีพืชพรรณตาง ๆ
                  ลมตายเรื่อย ๆ ทำใหไมมีผลผลิตสภาวะแหงแลงแบบนี้ยังไมเคยปรากฏในประเทศไทย
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32