Page 29 - การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดินของพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง จังหวัดสระแก้ว
P. 29
20
5) การขยายตัวของแหลงชุมชนและแหลงอุตสาหกรรม
ปญหาความหนาแนนของประชากรและขยายตัวของชุมชน เปนปญหาสำคัญที่สงผลกระทบ
ุ
ตอชุมชนเมือง โดยเฉพาะความหนาแนนและการขยายตัวของชมชนที่ไมไดมีการวางแผนรองรับ เกิดจากอัตราการ
้
เพิ่มของประชากรอยางรวดเร็ว การเพิ่มขึนของแหลงงาน ไดแก บริเวณพื้นที่อุตสาหกรรมจะมีการอพยพยายถิ่น
ของประชากรจำนวนมากเขามายังพื้นที่ดังกลาวอยางรวดเร็ว ทำใหเกิดความหนาแนนของประชากร ทำให
ู
ู
ระบบสาธารณปโภค สาธารณปการไมพอเพียงตอความตองการ กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในดานตาง ๆ ไดแก
ปญหามลภาวะทางน้ำ ปริมาณน้ำทิ้งและความสกปรกจะเพิ่มขึ้นอยางเปนสัดสวน ทำใหเกิดความเสื่อมโทรม
ของทรัพยากรน้ำ ขาดน้ำที่สะอาดใช ในการอุปโภคบริโภคภายในชุมชน ทำใหมีน้ำใชไมเพียงพอตอความตองการ
ในชมชนเปนปญหาการขาดแคลนน้ำ
ุ
3.4 ผลการศึกษา
การศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาณน้ำฝนกับความชื้นในดิน เพื่อจัดทำขอมูลความชื้นดิน
่
ึ
ุ
ี่
ี่
ู
ั
ในพื้นที่เสยงภัยแลงจงหวัดสระแกว โดยพืชทีศกษา มี 4 ชนิด ซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจทเกษตรกรปลกมากทสด ไดแก
ี่
ี่
ี่
ออย มนสำปะหลง ยางพารา และปาลมน้ำมน โดยยกเวนนาขาว เพราะพื้นทนาขาวจะมีการขังน้ำในพื้นททำใหคา
ั
ั
ั
ิ
ั
ความชื้นที่วัดไดมีความคลาดเคลื่อน ไมสอดคลองกับปริมาณน้ำฝน การศกษาในแตละชนิดพืช แบงตามลกษณะเนือดน
ึ
้
ที่ปลูกพืช 3 กลุม คือ กลุมชุดดินเนื้อหยาบ กลุมชุดดินเนื้อปานกลาง และกลมชดดนเนื้อคอนขางละเอียด(ภาพที 8)
่
ิ
ุ
ุ
ในพื้นที่แลงซ้ำซากในรอบ 10 ป โดยแบงระดับความรุนแรง 3 ระดับ คือ ตั้งแต 6 ครั้งขึ้นไปในรอบ 10 ป 4-5
ครั้งในรอบ 10 ป และ ไมเกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ป ไดมีการวัดความชื้นตามแปลงที่กำหนดไวในแตละจด
ุ
ี
่
และคาปริมาณน้ำฝนในวันทวัดความชื้นในดิน จากสถานีน้ำฝนของกรมอุตุนิยมวิทยา สถาบันสารสนเทศน้ำและ
การเกษตร (องคการมหาชน) และกรมทรัพยากรน้ำ ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางปริมาณน้ำฝนกับความชื้นใน
ดน มีรายละเอียดดังนี้
ิ