Page 45 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 45

37




                                                                     ุ
                                4) แนวทางการจัดการดานเทคโนโลยี ติดตั้งอปกรณบำบัดน้ำเสียกอนปลอยทิ้งและควบคุม
                                                                                                ั
                          การปลอยน้ำเสียของแหลงชุมชนริมน้ำใชเครือขายโซเชียล เปนชองทางในการประชาสัมพนธสำหรับ
                          การทำกิจกรรมเพื่อสังคม
                              วิวัฒน และคณะ (2557) ไดทำการศึกษาการประเมินผลกระทบในพื้นที่เสี่ยงตอการเกดภัยพิบัต ิ
                                                                                                 ิ
                                                          ั
                                                                                                ี
                                         ้
                                                                                                      ่
                                                                                          ่
                                                                                       ื
                                                             ั
                                                                                       ้
                          ทางธรรมชาติ ลุมนำแควใหญตอนลาง จงหวดกาญจนบุรี ประเทศไทย พบวาพนทีศึกษามการใชทีดิน
                          แบงเปน 11 ประเภท ไดแก นาขาว พืชไร ไมยืนตน ปาไมผลัดใบ ปาผลัดใบ ทุงหญาและไมละเมาะ
                                                
                          พนที่ลุม เหมืองแรและบอขุด แหลงน้ำธรรมชาติ แหลงน้ำที่สรางขึ้น ชุมชนและ สิ่งปลูกสราง โดยสวนใหญ
                            ื้
                               ื
                          เปนพ้นที่ปาไมผลัดใบ 2,354.43 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 68.9 ของพ้นที่ศึกษา มีพ้นที่
                                                                                          ื
                                                                                                      ื
                                                                                         ิ
                                        ั
                          เกิดการชะลางพงทลายของดินในระดับรุนแรงมากและรุนแรง 22.21 ตารางกโลเมตร และ 52.31
                                 ิ
                                                                            ื้
                          ตารางกโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.64 และ 1.53 ของพื้นที่ศึกษา พนทเสี่ยงตอการเกิดดินถลมในระดับสูง
                                                                               ี่
                          58.23 ตารางกโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.70 ของพนทศึกษา พนที่เสยงตอการเกิดอทกภัยในระดับสูง
                                                                                           ุ
                                                                    ี่
                                     ิ
                                                                 ื้
                                                                               ี่
                                                                          ื้
                                                                                                 ิ
                                                                                                    ั
                          528.03 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 15.45 ของพื้นที่ศึกษา พื้นที่เสี่ยงตอการเกดภยแลง
                                                                             ื
                                                         ิ
                          ในระดับสูง 59.72 ตารางกิโลเมตร คดเปนรอยละ 1.74 ของพ้นที่ศึกษา และมีพื้นที่เสี่ยงตอการ
                                                             ิ
                                                                                          ี่
                                                                                       ื้
                          เกิดภัยพิบัติซ้ำซอนในระดับสูง 79.67 ตารางกโลเมตร คิดเปนรอยละ 2.33 ของพนทศึกษา โดยสวนใหญ
                          ถูกจัดเปนพนทเสี่ยงภัยพบัติซ้ำซอนในระดับปานกลาง 2,297.71 ตารางกโลเมตร คิดเปนรอยละ 67.24
                                                                                  ิ
                                      ี่
                                   ื้
                                              ิ
                                                                                            
                                                                                   ื
                                                                ิ
                                                              ิ
                                                                         ั
                                                                                        
                                                           ั
                                                                                  ่
                                                                               ้
                                                                               ื
                               ื
                                          ี
                               ้
                                        ื
                                 ่
                                 ี
                                        ้
                                          ่
                                                                                                  
                                              ั
                          ของพนทศึกษา พนททไดรบผลกระทบจากภยพบัตซ้ำซอนระดบสูงในพนทีพชไร ไมยืนตน และปาผลัดใบ
                                           ่
                                           ี
                            
                               ้
                                                                        ั
                               ื
                                  ี
                                                           ิ
                          เปนพนท 68.85  8.36 และ 0.92 ตารางกโลเมตร ตามลำดบ
                                 ่
                              วิภพ (2549) การศึกษาการประยุกตใชขอมูลดาวเทียมและระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อวเคราะห
                                                            
                                                                                                  ิ
                          หาพ้นที่เสี่ยงตอความแหงแลงทางกายภาพของดินในอำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย
                              ื
                          โดยการประยุกตใชดาวเทียมเพื่อสรางขอมูลตัวแปรเชิงพนที่และใชประกอบ ในการกำหนดพื้นที่เสี่ยง
                                                                      ื้
                          ตอความแหงแลง ไดแก ขอมลการใชประโยชนจากที่ดิน ขอมูลการคายระเหยน้ำ ขอมูลระยะหางจาก
                                                 ู
                                                                                          
                                                                                         
                          แหลงน้ำ และการประยกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเปนเครื่องมือในการจำลองขอมูลตัวแปรเชิงพนท  ี่
                                            ุ
                                                                                                      ื้
                          ไดแก ปริมาณน้ำฝน จำนวนวันที่ฝนตก ความชื้นสัมพันธ อุณหภูมิอากาศ การคายระเหยน้ำ ศักยภาพ
                          ของชั้นหินในน้ำของดิน ระยะหางแหลงน้ำผิวดิน ความลาดชัน ความสูงต่ำของพนที่ และความสามารถ
                                                                                        ื้
                                                 ึ
                          การระบายน้ำของดิน จากการศกษาพบวาตัวแปรดานกายภาพที่สำคัญและเปนสาเหตุการเกิดความแหงแลง
                          คือ การระบายน้ำของดินระดับดี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย และการคายระเหยน้ำ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
                          การระบายน้ำของดินระดับดีเปนตัวแปรที่สำคัญที่สุดในการกำหนดพนทเสี่ยงตอความแหงแลง และ
                                                                                ื้
                                                                                   ี่
                                                        ี
                                                        ่
                                                          ่
                                                     ื
                          เมือศึกษาเปรียบเทียบการกำหนดพนทเสียงตอความแหงแลงของทงสองวธี พบวาการกำหนดคาคะแนน
                            ่
                                                     ้
                                                                             ั
                                                                             ้
                                                                                  ิ
                                                                    
                          ความแหงแลงมาตรฐานของทั้งสองวธีการไมมีความแตกตางกันทระดับนัยสำคัญ 0.05 และตรวจสอบ
                                                       ิ
                                                                            ี่
                                                                                ิ
                          ความถูกตองของแผนที่การกำหนดพื้นที่เสี่ยงตอความแหงแลง โดยวธีระบบผูเชี่ยวชาญและวิธีสถิต  ิ
                                                                       
                          วิเคราะหการถดถอยพหคูณและการสำรวจภาคสนาม พบวามีความถูกตองโดยรวมเทากับรอยละ 60
                                             ุ
                          และ 66 ตามลำดับ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50