Page 43 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 43

35




                          3.7  งานวิจัยที่เกี่ยวของ

                                                                       ื่
                                                                                   ื้
                                                                                                 ิ
                              จิราพร (2549) ไดใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพอประเมินหาพนที่เสี่ยงตอการเกดภัยแลง
                          โดยวเคราะหการถดถอยในพื้นที่จังหวัดลพบุรี โดยใชปจจัยดานอุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา อทกธรณีวิทยา
                               ิ
                                                                                              ุ
                                                                                              ิ
                                                                                      
                                           ี
                                                                   ่
                                                                             ึ
                          ภูมิประเทศดานปฐพวิทยา และการใชประโยชนทดิน ผลการศกษาพบวาปจจัยที่มีอทธิพลตอการ
                                                                   ี
                          เกิดภัยแลงอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับเชื่อมั่นรอยละ 95 มี 6 ตัวแปร คือ จำนวนวันฝนตกรายปเฉลี่ย
                          ความลาดชันของพนที่ การใชประโยชนที่ดิน ระดับความสูงของพนที่ ระยะหางจากพื้นที่ชลประทาน และ
                                         ื้
                                                                           ื้
                                                        
                                                                                                      ั
                          ปริมาณน้ำฝนรายปเฉลี่ย สำหรับปริมาณน้ำใตดิน และคุณสมบัติในการระบายน้ำ ไมมีความสัมพนธ
                          ตอการเกิดภัยแลงที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 95
                                                                         ี
                                                                                          ื้
                                                                    ื้
                                                    ั
                              ฐิตวดี (2546) ไดศึกษาปจจยคุณลักษณะของพนทที่มอิทธิพลตอการเกด พนที่แหงแลงในเขต
                                                                                               
                                                                      ี่
                                                                                       ิ
                          จังหวดเพชรบุรี ใชการวิเคราะหสมการถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression
                               ั
                                                                                         ิ
                          Analysis) ที่ระดบความเชื่อมั่น รอยละ 95 (P < 0.05) และทำการศึกษาประเมนศักยภาพของพื้นที่
                                       ั
                                    ื้
                                                                   ื้
                                 ิ
                          ในการเกดพนที่แหงแลง และพื้นที่ที่เสี่ยงตอการเกิดพนที่แหงแลง โดยการประยกตใชระบบสารสนเทศ
                                                                                       ุ
                          ภูมิศาสตร ผลการศึกษาความสัมพนธของปจจัยคุณลักษณะของพนที่กบการเกิดพื้นที่แหงแลง พบวา
                                                                                 ั
                                                     ั
                                                            
                                                                             ื้
                          ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดพ้นที่แหงแลงมี 2 ปจจัย คือ ความลาดชันของพื้นที่และลักษณะ
                                                    ื
                                                                 ิ
                                                                       ี่
                                                                    ื้
                          การระบายน้ำของดิน โดยมีสมการพยากรณการเกดพนทแหงแลงดังนี้ Y = 0.946 + 0.0147 (X2) +
                          0.327 (X6) และ Y = 1.196 + 0.01562 (X2) + 0.204 (X6) สำหรับปจจัย ปริมาณความชื้นในดิน,
                                                ื
                          องศาของทิศดานลาดของพ้นที่, ปริมาณการใชน้ำของพืช และปริมาณน้ำฝนเฉลยรายเดือน พบวา
                                                                                          ี่
                                                                                                       
                                                                  ื้
                                                 ิ
                          ไมมีความสัมพันธกบการเกดพื้นที่แหงแลงของพนที่อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น
                                          ั
                                                                  ื
                                                                                     ่
                                                                      
                                         ึ
                          รอยละ 95 ผลการศกษาพืนททีมศกยภาพในการเกดพนทีแหงแลง และพืนทีทีเสียงตอการเกดพืนทีแหงแลง
                                             ้
                                                               ิ
                                                                               ้
                                                                                                ้
                                                                                                     
                                                                                             ิ
                                                                  ้
                                                  ี
                                                                                                  ่
                                                                                   ่
                                                 ่
                                                   ั
                                                                                        
                                                                    ่
                                                                                  ่
                                                ่
                                                ี
                                                                        ่
                                                                          
                                                                                ้
                                                                                              ี
                                                                   ิ
                                                                     ้
                                                                     ื
                                    ่
                                    ี
                                           
                                               ื
                                               ้
                              
                                                                                                    ่
                          พบวา พนทสวนใหญเปนพนทีทีมศกยภาพในการเกดพนทีแหงแลงชืนปานกลาง และมความเสียงตอ
                                 ื
                                 ้
                                                   ่
                                                     ี
                                                      ั
                                                  ่
                                                          ี
                                                                                  ี
                                                            ี
                                                                               ื
                          การเกิดพื้นที่แหงแลงต่ำ และพบพื้นท่ท่มีศักยภาพในการเกิดพ้นท่แหงแลง แหงแลงมากและ
                          มีความเสี่ยงสูงเพียงเล็กนอยในบริเวณ ตำบลแกงกระจาน อำเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
                              ธีระพงศ (2553) ไดศึกษาเกยวกับการประเมินพนที่เสี่ยงภัยแลงในจงหวดอุทัยธานี โดยการศึกษาครั้งนี้
                                                                               ั
                                                                                  ั
                                                                 ื้
                                                  ี่
                          มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินศักยภาพของพื้นที่เสี่ยงภัยแลงในจังหวดอุทัยธานี เพื่อจัดลำดับความเสี่ยง
                                                                             ั
                                                                       ี
                          โดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรรวมกับขอมูลจากดาวเทยม และประเมนผลกระทบที่เกิดจากภัยแลง
                                                                                  ิ
                          เพื่อเปนขอมูลพนฐานในการวางแผนแกไขปญหาภัยแลงของจังหวัดอทัยธานีในอนาคต โดยนำปจจัย
                                       ื้
                                                                                ุ
                                  
                          ดานพนที่ ซึ่งมีอิทธิพลตอการเกิดภัยแลง ไดแก ปริมาณน้ำฝน จำนวนวันที่ฝนตก ระยะหางจากแหลงน้ำ
                                                              
                               ื้
                                                    ื้
                          แหลงน้ำใตดิน ความลาดชันของพนที่ศักยภาพความชื้นของดิน และการใชประโยชนที่ดิน วิเคราะหโดยใช
                                                                                             ื่
                          วิธีซอนทับขอมูล (Overlay Analysis) โดยกำหนดคาคะแนนและการถวงน้ำหนัก เพอกำหนดระดับ
                                                                                  
                               ื้
                          ของพนที่เสี่ยงภัยแลง และนำขอมูลที่ไดมาซอนทับกับคาดัชนีพืชพรรณ (NDVI) ที่ไดจากขอมูลดาวเทียม
                                                                                     ี่
                              ปรีชา (2553) ไดศึกษาการพัฒนาแหลงน้ำและการบริหารจัดการน้ำในพื้นทแหงแลงจังหวัดกาญจนบุรี
                                                                                ั
                                                              
                          พบวา แผนการพัฒนาแหลงน้ำ ไดแบงออกเปน 2 กลุม คือ แผนการพฒนาแหลงน้ำระดับลุมน้ำ และ
                                                                          ้
                                                                 ั
                          โครงการผันน้ำมีจำนวน 94 โครงการ และแผนการพฒนาแหลงนำระดับทองถนมจำนวน 1,400 โครงการ
                                                                                      ี
                                                                                    ิ่
                                                                          ั
                          ผลประโยชนจาการดำเนินการตามแผนการพัฒนาแหลงนำระดบลุมน้ำ และโครงการผันน้ำ เมอดำเนิน
                                                                                                  ื่
                                                                      ้
                          โครงการตามแผนการพัฒนาแหลงน้ำ จะทำใหในพื้นที่ทศึกษามีความจุเก็บกักน้ำที่ระดับเกบกกเพมขึ้น
                                                                                                    ิ่
                                                                    ี่
                                                                                              ็
                                                                                                 ั
                          93.224 ลานลูกบาศกเมตร และสามารถพัฒนาพนที่ชลประทาน/พนที่ไดรับประโยชนเพมขน 154,460 ไร
                                                                            ื้
                                                                                              ึ้
                                                              ื้
                                           
                                                                                            ิ่
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48