Page 40 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 40

32




                                                                                            ึ้
                                                                                          ิ่
                          บริโภคเพิ่มขึ้น ซึ่งความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคม จะเกิดขึ้นจนกวาการเพมขนของประชากร
                          และความตองการบริโภคจะปรับตัวเขาหากันจนเกิดความสมดุล
                          3.3  ระดับความรุนแรงของความแหงแลง

                              ความรุนแรงของความแหงแลงมความสัมพันธสอดคลองกับสภาวะฝนแลงหรือความแหงแลงของ
                                                       ี
                               
                                          ิ
                                                                                          ิ
                          ลม ฟา อากาศ ซึ่งเกดจากการมีฝนตกนอยกวาปกติ หรือฝนไมตกตามฤดูกาลทำใหเกดการขาดแคลนน้ำ
                          ใชพืชพันธุตาง ๆ ขาดน้ำหลอเลี้ยงขาดความชุมชื้น ทำใหพชผลไมสมบูรณหรือเจริญเติบโตใหผลตามปกติ
                                                                      ื
                          แตเกดความเสียหายระดับความรุนแรง แบงไดเปน 3 ระดับ (ปรานี และนงคนาถ, 2536)
                              ิ
                                                        
                              3.3.1  ความแหงแลงอยางเบา เปนสภาวะความแหงแลงทมีฝนตกเฉลี่ยไมถึงวันละ 1 มิลลิเมตร
                                                                            ี่
                                         ั
                          เปนเวลาตอเนื่องกนถง 15 วัน ในชวงฤดูฝนความแหงแลงแบบนี้เกิดขึ้นตามภาคตาง ๆ ในประเทศไทย
                                           ึ
                          เสมอในตอนตนฤดูฝนระหวางเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม
                                                                                       ิ
                                                                                         ั
                                                                             ู
                              3.3.2  ความแหงแลงปานกลาง เปนชวงฝนแลงที่มีฝนตกในฤดฝนเฉลี่ยไมเกนวนละ 0.25 มิลลิเมตร
                          เปนเวลานานตอเนื่องกนไมนอยกวา 29 วน ความแหงแลงแบบนี้เกดขึ้นถึงขนขาดแคลนนำมีผลกระทบ
                                                                                              ้
                                            ั
                                                                             ิ
                                                          ั
                                                                                    ั้
                                               
                                                     ู
                          ตอการเกษตรกรรมความเปนอยของประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศ แตไมคอยไดเกิดขึ้น
                          ในประเทศไทยบอยนัก
                                                                                           ื่
                                                                                              ั
                              3.3.3  ความแหงแลงอยางรุนแรง เปนความแหงแลงที่ฝนไมตกในฤดูฝนตอเนองกนไมนอยกวา
                                                                                   
                                                                       ิ
                          15 วัน หรืออาจมีตกบางแตไมมีวนใดที่มีฝนตกถึง 0.25 มลลิเมตร นับเปนภัยธรรมชาติที่รุนแรงที่สุด
                                                    ั
                          มีพืชพรรณตาง ๆ ลมตายเรื่อย ๆ ทำใหไมมีผลผลิตสภาวะแหงแลงแบบนี้ยั้งไมเคยปรากฏในประเทศไทย
                          3.4  ชวงเวลาเกิดความแหงแลงในประเทศไทย
                                               
                              ความแหงแลงในประเทศไทยจะเกิดอย 2 ชวง ดังนี้
                                                           ู
                              3.4.1  ชวงฤดูหนาวตอเนื่องถึงฤดูรอน โดยเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเปนตนไป บริเวณ
                                                                                                ี
                          ประเทศไทยตอนบน (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก) จะมปริมาณฝน
                                                                ี
                                                                                                     ิ
                                                                                    ่
                                                                                                       ้
                          ลดลงเปนลำดับ จนกระทังเขาสูฤดูฝนในชวงกลางเดือนพฤษภาคมของปถดไป ซึงภัยแลงลักษณะนีจะเกดขน
                                                                               ั
                                                                                                       ึ
                                                                              
                                                                                                 ้
                                             ่
                                                
                                                  
                          เปนประจำทุกป
                                                                                                     ิ
                                                                                               ิ้
                                                                                                       ึ้
                              3.4.2  ชวงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนทงชวงเกดขน
                                                                    ุ
                                                                                            ี่
                                            ิ
                                                                                                       
                                                         ิ่
                          ภัยแลงลักษณะนี้จะเกดขึ้นเฉพาะทองถนหรือบางบริเวณ บางครงอาจครอบคลุมพื้นทเปนบริเวณกวาง
                                                                            ั้
                          เกือบทั่วประเทศ
                              ภัยแลงในประเทศไทยสวนใหญมีผลกระทบตอการเกษตรกรรม โดยเปนภัยแลงที่เกดจากขาดฝน
                                                                                              ิ
                                                                                                ื้
                                            ู
                                                                                                    ี่
                                                                      ุ
                                                         ิ้
                          หรือฝนแลงในชวงฤดฝน และเกดฝนทงชวงในเดือนมิถนายนตอเนื่องเดือนกรกฎาคม พนที่ทไดรับ
                                                    ิ
                          ผลกระทบจากภัยแลงมาก ไดแก บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เพราะเปนบริเวณที่
                                                  ี
                                                        
                          อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉยงใตเขาไปไมถึง และถาปใดไมมีพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนผานในแนว
                                                                        ื
                                                                                              ื
                          ดังกลาวแลวจะกอใหเกิดภัยแลงรุนแรงมากข้น นอกจากพ้นที่ดังกลาวแลว ยังมีพ้นที่อ่น ๆ ท่มักจะ
                                                              ึ
                                                                                                    ี
                                                                                           ื
                          ประสบปญหาฝนแลง ฝนทิ้งชวง เปนประจำอีกดวย
                                                               
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45