Page 39 - การประเมินพื้นที่แล้งซ้ำซากจังหวัดกาญจนบุรี
P. 39
บทที่ 3
การตรวจเอกสาร
3.1 ความหมายของความแหงแลง
ื้
ความแหงแลง หมายถึง สภาพพนที่ที่ขาดน้ำ จากการที่ฝนทิ้งชวงเปนระยะเวลานาน หรือฝนไมตก
ิ
ตามฤดูกาลเปนพนที่ที่อยูหางจากแหลงน้ำ หรือไมมีแหลงน้ำเพียงพอ ทำใหดนขาดความชุมชื้น
ื้
ประกอบกับดินมีความสามารถระบายน้ำไดดี ความแหงแลงสามารถเกิดขึ้นไดทุกฤดูกาลทุกสภาพพนที่
ื้
และอาจคงอยูไดอยางไมจำกัดเวลา (สำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา, 2555)
ความแหงแลงดานการเกษตร หมายถึง สภาวะทมีฝนนอยหรือไมมีฝน ทำใหเกดการขาดแคลนน้ำ
ิ
ี่
ื
ื่
ั
สำหรับพช ทำใหพืชไดรับความเสียหายเปนบริเวณกวาง (สถาบนวิจัยพัฒนาเพอปองกันการเปนทะเลทราย
ั
ื
และการเตอนภย, 2548)
้
พื้นที่แลงซ้ำซากดานการเกษตร หมายถึง พื้นที่ที่มีความแหงแลงที่เกดซำในพนที่เดิมเปนประจำ
ื้
ิ
ื
้
่
ั
้
ี
ั
ุ
ื
ี
ื
หรอบอยครง จนสรางความเสยหายตอพนทีเกษตรกรรม อนมสาเหตมาจากฝนตกนอยกวาปกติหรอ
ฝนตกไมเปนไปตามฤดูกาล แตสวนใหญเกิดจากฝนทิ้งชวงเปนเวลานานในพื้นที่ทำการเกษตร
3.2 ประเภทของภัยแลง
พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ราชบัณฑิตยสถาน กลาวโดยทั่วไปไดวาเปนชวงเวลา ซึ่งอากาศแหง
ผิดปกตหรือขาดฝน ทำใหเกิดการขาดแคลนน้ำใชและพืชผลตาง ๆ เสียหาย ความรุนแรงของชวงฝนแลง
ิ
ิ
นั้นขึ้นอยูกับความชื้นในอากาศ ระยะเวลาที่เกดความแหงแลง และความกวางใหญไพศาลของบริเวณ
ี่
พนที่ทมีความแหงแลง ใหรายละเอียดไดดังนี้ (สำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา, 2555)
ื้
3.2.1 ความแหงแลงเชิงอตุนยมวทยา หมายถึง ปริมาณฝนโดยเฉลี่ยจะมีปริมาณนอยกวาเดิม
ิ
ุ
ิ
เมื่อเปรียบเทียบกับชวงระยะเวลายาวนานในอดีตที่ผานมา
3.2.2 ความแหงแลงภาคทางอุตุนิยมวิทยาเกษตร หมายถึง พิจารณาถึงความชื้นในดินพอเพียงที่
สามารถจะนำไปใชประโยชนสำหรับพช โดยจะพจารณาจากผลผลิตที่ไดจากการเพาะปลูก เปรียบเทียบกบ
ิ
ั
ื
สภาวะที่พืชใชน้ำปกติ ถาผลผลิตที่ไดมีปริมาณนอยกวาโดยเฉลี่ยแลวก็คงเพราะสาเหตุของการขาดแคลนน้ำ
ุ
3.2.3 ความแหงแลงเชิงอทกวิทยา หมายถึง ความแหงแลงที่เกดจากชวงฤดูกาลที่มีปริมาณฝนตก
ิ
นอยหรือไมมีฝนตก ทำใหระดับน้ำผิวดินและน้ำใตดินคือ น้ำในแมนำ อางเกบนำ ทะเลสาบ และ
้
็
้
ั
ุ
ึ่
น้ำบาดาลลดระดับลง ซงความแหงแลงเชิงอทกวิทยานี้ มักจะพจารณาในระดบของลุมน้ำ ความแหงแลง
ิ
เชิงอุทกวิทยาเปนปญหาที่เกิดขนอยางชา ๆ ตางจากความแหงแลวเชิงอุตุนิยมวิทยา และความแหงแลง
ึ้
เชิงเกษตรกรรม
ั
3.2.4 ความแหงแลงเชิงเศรษฐศาสตรและสังคม หมายถึง ความแหงแลงที่เกี่ยวของกบทรัพยากรที่มีอยู
และความตองการทรัพยากรนั้น แตเนื่องจากความจำกัดของทรัพยากร และประชากรมีความตองการ
ึ้
ทรัพยากรมาก จึงทำใหเกิดความขาดแคลนขน ซึ่งความแหงแลงทางเศรษฐศาสตรและสังคม จะแตกตาง
ออกไปจากความแหงแลงอื่น ๆ เนื่องจากมีเรื่องของความตองการใช และความจำกัดของทรัพยากร
ี่
เขามาเกยวของ ซึ่งโดยปกติแลวความตองการทรัพยากรจะเพิ่มขึ้น ตามจำนวนประชากรและความตองการ